การสืบทอดวรรณกรรมขุนทึงขุนเทือง

Main Article Content

ชาญชวิศ ทุ่มโมง
ชานนท์ ไชยทองดี

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาต้นฉบับวรรณกรรมขุนทึงขุนเทือง สำนวนร้อยแก้ว 2. เพื่อศึกษาตำนานขุนทึงขุนเทือง 3. เพื่อเปรียบเทียบวรรณกรรมขุนทึงขุนเทืองสำนวนร้อยแก้วและร้อยกรอง 4. เพื่อศึกษาบทบาทของวรรณกรรมขุนทึงขุนเทือง พบว่า ต้นฉบับขุนทึงขุนเทือง สำนวนร้อยแก้ว ต้นฉบับคัมภีร์ใบลานวัดกระจายนอก จำนวน 4 ผูก ลักษณะการประพันธ์แบบนิสสัยปนร่าย ใช้อักษรธรรมอีสานบันทึก ขุนทึงขุนเทืองปรากฏในพงศาวดารเมืองเชียงแสน วรรณกรรมขุนทึงขุนเทืองสำนวนร้อยแก้วและร้อยกรองมีโครงเรื่องและวิธีดำเนินเรื่องที่คล้ายคลึงกัน โดยสำนวนร้อยแก้วมี 12 โครงเรื่อง และสำนวนร้อยกรองมี 14 โครงเรื่อง เป็นวรรณกรรมที่มีบทบาทต่อสังคมอีสานในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านประติกรรม หมอลำ และดนตรีนิพนธ์/ศิลปะนิพนธ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จิตรกร เอมพันธ์. (2545). พญานาค เจ้าแห่งน้ำโขง : พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่งวัฒนธรรมอีสาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ) สืบค้นจาก https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b1663904

ดนุพล ไชยสินธุ์. (2555). วรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน. ใน ประมวลสาระชุดวิชาวรรณกรรมท้องถิ่น = Folk literature. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นิพล สายศรี. (2555). พญาคันคาก. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์.

ธนันต์ พิสัยสวัสดิ์. (2531). การวิเคราะห์วรรณคดีอีสานเรื่อง ขุนทึง. (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก).

ธวัช ปุณโณทก. (2542). “วรรณกรรมอีสาน” ใน สารานุกรมวัฒนธรรม ภาคอีสานเล่ม 12. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

ปรีชา พิณทอง. (2532). สารานุกรมภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ = Isan-Thai-English dictionary / โดย ปรีชา พิณทอง. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์ศิริธรรม.

พระมหาโยธิน ปัดซาสี. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมภาคเหนือและอีสานเรื่องนางแตงอ่อน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

พิทูร มลิวัลย์. (2511). ขุนทึง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประยูรวงศ์.

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2544). ตำนานและพิธีกรรมคุณปู่ศรีราชา : ภาพสะท้อนบูรณาการทางสังคมวัฒนธรรมที่บ้านยี่สาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

สมัย วรรณอุดร. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมอีสานและลาวเรื่อง ลำบุษบา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

สรัสวดี อ๋องสกุล. (2546). พื้นเมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

อรอนงค์ ฤทธิ์ฤาชัย. (2559). ความหมายในรูปปั้นศาลาแก้วกู่. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 39(1), 46-59.

อดุลย์ หลานวงศ์. (2560). นาโค นาคี : ความเชื่อกับสถานะในการวางตน. วารสารสถานวิจัยพิมลธรรม, 4(1). 1-14

เอกสารใบลานขุนทึงขุนเทือง. ไม่ปรากฏปีที่จาร. วัดกระจายนอก ตำบลกระจาย อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร. อักษรธรรมอีสาน. 4 ผูก 224 หน้าลาน.

ออนไลน์คมชัดลึก. (2560). “ว่านพญากาสัก” รักษากามโรค. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์: https://www.komchadluek.net

ชุมชนคนรักษ์พรรณไม้. (2560). พญากาสัก. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2563, จากเว็บไซต์: https://www.facebook.com

NanaGarden. (ม.ป.ป.). ว่านพญากาสัก. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.nanagarden.com