โลกาภิบาลกระบวนการยุติธรรม: กรณีศึกษาการใช้ทางเลือกอื่นในการลงโทษผู้กระทำผิดแทนการจำคุก

Main Article Content

ศิริจรรยา รักษายศ

Abstract

จุดประสงค์ของบทความวิชาการชิ้นนี้คือเพื่ออธิบายที่มา และตัวแสดงที่เกี่ยวข้องต่อพัฒนาการของกระบวนการโลกาภิบาลกระบวนการยุติธรรม โดยใช้กรณีศึกษาการใช้ทางเลือกอื่นในการลงโทษผู้กระทำผิดแทนการจำคุก โดยจัดแบ่งเนื้อหา ดังนี้ ส่วนแรกจะเป็นการอธิบายถึงกระบวนการโลกาภิบาลหลังจากนั้นจะนำกรอบดังกล่าวมาอธิบายกระบวนการใช้ทางเลือกอื่นในการลงโทษผู้กระทำผิดแทนการจำคุก อันประกอบไปด้วย ขั้นตอนแรก คือ การสร้างองค์ความรู้ใหม่แก่สาธารณชน อธิบายถึงการลงโทษผู้กระทำผิดที่มีอิทธิพลมาจนถึงปัจจุบัน ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของการลงโทษผู้กระทำผิดที่ไม่รุนแรง และเสริมสร้างภาพจำใหม่แก่สาธารณชนได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการลงโทษโดยการคุมขัง ขั้นตอนต่อมาเป็นการสร้างบรรทัดฐานและแนวปฏิบัติใหม่ มีองค์การสหประชาชาติเป็นผู้ผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศให้รัฐต่าง ๆ ให้ความสำคัญและนำหลักการไปปฏิบัติ และขั้นตอนสุดท้าย คือ การที่รัฐร่วมมือกับองค์การมหาชนและเอกชนในการเผยแพร่ ให้คำแนะนำ และทำให้บรรทัดฐานใหม่มีความเป็นสถาบัน อธิบายถึงความเป็นสถาบันของบรรทัดฐานดังกล่าวที่ทำให้เกิดการปฏิบัติตามอย่างเป็นระบบ อุปสรรคที่สำคัญของโลกาภิบาลในประเด็นนี้ คือ การที่ประชาชนยังขาดความตระหนักรู้ และยังให้ความสำคัญกับกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก เพราะโทษจำคุกยังเป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมปลอดภัยได้และข่มขู่ยับยั้งให้ผู้คนหวาดกลัวและไม่กล้ากระทำผิด

Article Details

How to Cite
รักษายศ ศ. . (2023). โลกาภิบาลกระบวนการยุติธรรม:: กรณีศึกษาการใช้ทางเลือกอื่นในการลงโทษผู้กระทำผิดแทนการจำคุก. Political Science and Public Administration Journal of Kasetsart University (PSPAJKU), 1(2), 147–193. Retrieved from https://so14.tci-thaijo.org/index.php/PSPAJKU/article/view/523
Section
Articles

References

กระทรวงการต่างประเทศ. (2551). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2565 จาก https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/udhr-th-en.pdf

กระทรวงการต่างประเทศ. (ม.ป.ป.). กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2565 จาก https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/iccprt.pdf

กระทรวงการต่างประเทศ. (ม.ป.ป.). อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2565 จากhttps://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/catt.pdf

กระทรวงยุติธรรม. (2550). มาตรฐานขั้นต่ำสหประชาชาติว่าด้วยการไม่ควบคุมตัว (ข้อกำหนดโตเกียว). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2565 จากhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER13/DRAWER095/GENERAL/DATA0000/00000114.PDF

กระทรวงยุติธรรม. (2564, เมษายน 9). ส่องแนวโน้มยุติธรรมทางอาญากับงาน UN Crime Congress ผ่านสายตา “ดร.พิเศษ สะอาดเย็น” ผอ. TIJ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2565 จาก https://www.moj.go.th/view/54501

กรุงเทพธุรกิจ. (2564, เมษายน 23). จากเวที Crime Congress ถึงไทย "ผอ. TIJ คนใหม่" กับอนาคต "ยุติธรรมทางอาญา". [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/advertorials/news/2854

ฉัตรชยา บุญช่วย, และอภิสิทธิ์ จรลี. (2562). อาชญากรรมทางศาสนาในรูปแบบการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2(1), 83-94.

ปาริชาติ โชคเกิด. (2564, ตุลาคม 22). ไทยติดอันดับ Top 10 มีผู้ต้องขังล้นคุกมากมายไม่แพ้ชาติใดในโลก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2565 จาก https://brandinside.asia/most-prisoners-world-top-10-ranking-in-2021/

ปณิธัศร์ ปทุมวัฒน์. (2564). หลักสากลจากข้อมติขององค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิการชุมนุมสาธารณะ. จุลนิติ, 160.

มติชนสุดสัปดาห์. (2561, มีนาคม 20). สหรัฐอเมริกา ครองอันดับ 1 ผู้ต้องขัง 2.2 ล้าน มากที่สุดในโลก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2566 จาก https://www.matichonweekly.com/column/article_89540

สหประชาชาติ ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 16 สันติภาพ ยุติธรรม และสถาบันที่เข้มแข็ง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก https://thailand.un.org/th/sdgs/16

ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์. (2554). แนวทางและความเป็นไปได้ในการนำมาตรการลงโทษระดับกลางมาใช้เพื่อเป็นมาตรการทางเลือกในการลงโทษผู้กระทำผิดในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 4(4), 6-8.

ศรันยา สีมา. (ม.ป.ป.). กำไรอิเล็กทรอนิกส์: อุปกรณ์ควบคุมผู้กระทำความผิด. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=32200

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (ม.ป.ป.). ตอบข้อหารือเกี่ยวกับวินัยข้าราชการพลเรือนตาม พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน (ตั้งแต่ พ.ศ. 2541-2545). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2565 จาhttps://www.ocsc.go.th/discipline/ตอบข้อหารือ-วินัยข้าราชการ/พรบ/2541-2545#gsc.tab=0

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). เกี่ยวกับ SDGs. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://sdgs.nesdc.go.th/เกี่ยวกับ-sdgs/

สำนักงบประมาณของรัฐสภา. (2565). รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/download/article/article_20210813153433.pdf

สุดสงวน สุธีสร. (2546). อาชญาวิทยาและงานสังคมสงเคราะห์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อริยพร โพธิใส. (2564). โทษปรับเป็นพินัย : มาตรการใหม่แทนการลงโทษทางอาญา. จุลนิติ, 18(3), 125-131.

องค์กรการปฏิรูปการลงโทษสากล และสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย. (2563, พฤษภาคม 14). แนวโน้มสถานการณ์เรือนจำโลก ปี 2563. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จากhttps://knowledge.tijthailand.org/th/publication/detail/72#book/

องค์กรการปฏิรูปสากล และสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย. (2564, สิงหาคม 10). บทสรุปผู้บริหาร แนวโน้มสถานการณ์เรือนจำโลก ปี 2564. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จากhttps://cdn.penalreform.org/wp-content/uploads/2021/08/GPT-2021_Exec-summary_TH.pdf

องค์กรการปฏิรูปการลงโทษสากล และสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย. (2565, พฤษภาคม 11). บทสรุปผู้บริหาร แนวโน้ม สถานการณ์เรือนจำโลก ปี 2565. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2566 จาก https://knowledge.tijthailand.org/th/publication/detail/global-prison-trends-2022-exec-sum#book/

Hmong. (ม.ป.ป.). สถาบันวิจัยอาชญากรรมและความยุติธรรมระหว่างภูมิภาคแห่งสหประชาชาติ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ1 พฤศจิกายน 2565 จาก https://hmong.in.th/wiki/UNICRI.

iLaw. (2563, พฤษภาคม 23). ความแออัดของเรือนจำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับมาตรการการรับมือโควิด-19. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2565 จาก https://ilaw.or.th/node/5664.

Keystone Lawstudies. (ม.ป.ป.). UNICRI United Nations Interregional Crime and Justice Research Institute. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2565 จาก https://www.lawdegreethai.com/institutions/unicri

Thailand Institute of Justice. (2559, กันยายน 21). TIJ กับ UNAFEI ลงนาม MOU ด้านหลักนิติธรรม การป้องกันอาชญากรรม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 6 ตุลาคม 2565 จาก https://www.tijthailand.org/th/highlight/detail/tij-กับ-unafei-ลงนาม-mou-ด้านหลักนิติธรรม-การป้องกันอาชญากรรม

Thailand institute of Justice. (2563, เมษายน 22). รายงานแนวโน้มสถานการณ์เรือนจำโลก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2565 จาก https://www.tijthailand.org/th/highlight/detail/global-prison-trends-2020

Workpointtoday. (2561, กุมภาพันธ์ 27). 1 มี.ค. เริ่มใช้ ‘อีเอ็ม’ กำไลข้อเท้าอิเล็กทรอนิกส์ ติดตามตัวผู้ต้องหา-จำเลย'. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2566 จาก https://workpointtoday.com/1-มี-ค-เริ่มใช้-อีเอ็ม-กำไล/

Translated Thai References

Ministry of Foreign Affairs. (2008). Universal Declaration of Human Rights. [Online]. Retrieve 2022, October 29 from https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/udhr-th-en.pdf. (in Thai)

Ministry of Foreign Affairs. (n.d.). International Covenant on Civil and Political Rights – ICCPR. [Online]. Retrieve 2022, October 29 from https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/iccprt.pdf. (in Thai)

Ministry of Foreign Affairs. (n.d.). Convention Against Torture and other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment. [Online]. Retrieve 2022, October 29 from https://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/catt.pdf. (in Thai)

Ministry of Justice. (2007). United Nations Standard Minimum Rules for Non-custodial Measures (The Tokyo Rules). [Online]. Retrieve 2022, October 29 from http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER13/DRAWER095/GENERAL/DATA0000/00000114.PDF. (in Thai)

Ministry of Justice. (2021, April 9). Watch the Trends of Criminal Justice with UN Crime Congress via the Lens of the Director of Thailand Institute of Justice (TIJ). [Online]. Retrieve 2022, October 29 from https://www.moj.go.th/view/54501. (in Thai)

Bangkokbiznews. (2021, April 23). From UN Crime Congress to the new Director of Thailand Institute of Justice with the future of Criminal Justice. [Online]. Retrieve 2022, October 28 from https://www.bangkokbiznews.com/advertorials/news/2854. (in Thai)

Buamchuai, Chatchya, & Joralee, Apisit. (2019). Religious crimes in the form of politics. Journal of Social Sciences Mahamakut Buddhist University, 2(1), 83-94. (in Thai)

Chokkerd, Parichat. (2021, October 22). Thailand is one of the top 10 nations with the highest rate of imprisonment. [Online]. Retrieve 2022, October 28 from https://brandinside.asia/most-prisoners-world-top-10-ranking-in-2021/. (in Thai)

Matichonweekly. (2018, March 20). The United States ranks first with 2.2 million inmates in the world. [Online]. Retrieve 2023, June 3 from https://www.matichonweekly.com/column/article_89540. (in Thai)

United Nations Thailand. (n.d.). Sustainable Development Goal 16 about Peace, Justice and Inclusive institutions at all levels. [Online]. Retrieve 2022, October 5 from https://thailand.un.org/th/sdgs/16. (in Thai.)

Lertpanitchapan, Sakchai. (2011). Guidelines and Possibilities for adopting the Intermediate Punishment as an Alternative Measures to Punish Offenders in the Criminal Justice System of Thailand. Journal of Thai Justice System, 4(4), 6-8. (in Thai)

Seema, Sarunya. (n.d.). Electronic Monitoring: Digital Incarceration. [Online]. Retrieve 2022, October 5 from https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=32200. (in Thai)

Office of the Civil Service Commission. (n.d.). Reply the Discussion about the Civil Service Act (from 1998 to 2002). [Online]. Retrieve 2022, October 11 from https://www.ocsc.go.th/discipline/ตอบข้อหารือ-วินัยข้าราชการ/พรบ/2541-2545#gsc.tab=0. (in Thai)

Office of the National Economic and Social Development Council. (n.d.). About SDGs. [Online]. Retrieve 2023, March 25 from https://sdgs.nesdc.go.th/เกี่ยวกับ-sdgs/. (in Thai)

Parliamentary Budget Office. (2022). Thailand Budget Expenditure Analysis Report for 2022. [Online]. Retrieve 2023, March 25 from https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/download/article/article_20210813153433.pdf. (in Thai)

Penal Reform International and Thailand Institute of Justice. (2020, May 14). Global Prison Trends 2020. [Online]. Retrieve 2023, March 25 from https://knowledge.tijthailand.org/th/publication/detail/72#book/. (in Thai)

Penal Reform International and Thailand Institute of Justice. (2021, August 10). Global Prison Trends 2021. [Online]. Retrieve 2023, March 25 from https://cdn.penalreform.org/wp-content/uploads/2021/08/GPT-2021_Exec-summary_TH.pdf. (in Thai)

Penal Reform International and Thailand Institute of Justice. (2022, May 11). Global Prison Trends 2022. [Online]. Retrieve 2023, March 25 from https://knowledge.tijthailand.org/th/publication/detail/global-prison-trends-2022-exec-sum#book/. (in Thai)

Padumavadhana, Panitat. (2021). International Principles from the resolutions of International Organizations about Right and Freedom in Public Assembly. Julniti, 160. (in Thai)

Suteesorn, Sudsanguan. (2003). Criminology and Social Work. Thammasat University: Thammasat University. (in Thai)

Photisai, Ariyapon. (2021). Non-criminal (Pinai) Fine: Replace the Criminal Punishment. Julniti Journal. 18(3), 125-131. (in Thai)

Hmong. (n.d.). United Nations Interregional Crime and Justice Research Institute. [Online]. Retrieve 2022, November 1 from https://hmong.in.th/wiki/UNICRI. (in Thai)

iLaw. (2020, May 23). Southeast Asian Prison Overcrowding and Measurement for Prevention and Control (Covid-19). [Online]. Retrieve 2022, October 11 from https://ilaw.or.th/node/5664. (in Thai)

Keystone Lawstudies. (n.d.). UNICRI United Nations Interregional Crime and Justice Research Institute. [Online]. Retrieve 2022, October 6 from https://www.lawdegreethai.com/institutions/unicri. (in Thai)

Thailand Institute of Justice. (2016, September 21). TIJ Signed MOU with UNAFEI to Promote the Rule of Law for Crime Prevention. [Online]. Retrieve 2022, October 6 from https://www.tijthailand.org/th/highlight/detail/tij-กับ-unafei-ลงนาม-mou-ด้านหลักนิติธรรม-การป้องกันอาชญากรรม. (in Thai)

Thailand Institute of Justice. (2020, April 22). Global Prison Trends 2020. [Online]. Retrieve 2022, October 10 from https://www.tijthailand.org/th/highlight/detail/global-prison-trends-2020. (in Thai)

Workpointtoday. (2018, February 27). Starting on March 1, “EM” Electronic Monitoring Will Be Used to Track Criminals. [Online]. Retrieve 2023, March 26 from https://workpointtoday.com/1-มี-ค-เริ่มใช้-อีเอ็ม-กำไล/. (in Thai)

Allen, Rob. (2015). Global Prison Trends 2015. Penal Reform International, 5.

Quen, M. Jacques. (1995). Insanity Defense How Far Have We Strayed. Cornell Journal of Law and Public Policy, 5(1), 27-32.

Weiss, T. G. & Thakul, R. (2014). The United Nations Meets the Twenty-First Century: Confronting the Challenges of Global Governance. SAGE Reference, 489-504.