ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายผ่านอินเทอร์เน็ตของบุคลากรส่วนราชการและองค์การของรัฐในจังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • ศิริรัตน์ ศรีนุกูล คณะอุตสาหกรรมแลเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • เพชรไพรริน อุปปิง คณะอุตสาหกรรมแลเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • จักเรศ เมตตะธำรงค์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • ชารินี ไชยชนะ คณะอุตสาหกรรมแลเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร

คำสำคัญ:

ความพึงพอใจ, รายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย, อินเทอร์เน็ต, ส่วนราชการ, องค์การของรัฐ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย และ 2) ศึกษาอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ บุคลากรของส่วนราชการและองค์การของรัฐในจังหวัดสกลนคร จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ PLS-SEM เพื่อวัดความสัมพันธ์ของตัวแปร ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประกอบด้วย คุณภาพข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพระบบสารสนเทศ คุณภาพบริการ และประโยชน์ที่ได้รับจากการยื่นแบบภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต และ 2) ผลการศึกษาอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย โดยการใช้แบบจำลอง Outer และ Inner model ผลการทดสอบโมเดลมีความน่าเชื่อถือและมีความเที่ยงตรง ซึ่งปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประกอบด้วย ปัจจัยคุณภาพข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพระบบสารสนเทศ คุณภาพบริการ และประโยชน์ที่ได้รับจากการยื่นแบบภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต และปัจจัยทางอ้อมประกอบด้วย ปัจจัยคุณภาพข้อมูลสารสนเทศ คุณภาพบริการ และประโยชน์ที่ได้รับจากการยื่นแบบภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต

References

เจตพล ติปยานนท์ และ ฑิฆัมพร ทวีเดช. (2564). การยกระดับความสามารถการใช้ระบบ e-Filing ของผู้ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(2), 205-218. https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/journalgspa/article/view/7790

นาคเนตร งามภักดิ์, นรพล จินันท์เดช, อัมพล ชูสนุก, และ สมชาย นําประเสริฐชัย. (2561). อิทธิพลของคุณภาพสารสนเทศต่อการใช้งานระบบ ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน และประโยชน์สุทธิของผู้ใช้งานระบบบริหารจัดการลานตู้ของท่าเรือกรุงเทพ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(1), 152-166. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/PNRU_JHSS/article/view/115885

บัญชา หมั่นกิจการ และ พรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2561). แบบจำลองเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์, 37(3), 30-39. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jcomm/article/view/226690

ปฐมาภรณ์ บำรุงผล. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีและคุณภาพระบบสารสนเทศที่ส่งผลต่อการตั้งใจใช้บริการยื่นแบบภาษีเงินได้นิติบุคคลผ่านอินเทอร์เน็ตของผู้ยื่นภาษีในธุรกิจภาคอุตสาหกรรม (วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3075/1/61606305.pdf

พงศ์ศิรภพ ทองดีรวิสุรเกตุ. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีอากรทางออนไลน์ (E-FILING). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 8(2), 169-181. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bkkthon/article/view/215317

พนิดา สุภาพอาภรณ์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสำเร็จของการยื่นแบบภาษีทางอินเทอร์เน็ตของนิติบุคคลในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม. https://dspace.spu.ac.th/items/707a8ede-b99d-4b3c-8f24-c48a4abd774b

ฟ้ารฬิณฑ์ ฟ้าฎิษฐกุล. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้งานระบบยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของผู้มีเงินได้ในเขตอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน (การศึกษาค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทายาลัยราชภัฏเชียงใหม่. http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2276

วนิดา แสงชวลิตร, อรัญญา นาคหล่อ, และ สุพิชา ศรีสุคนธ์. (2567). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับระบบ New e-Filing ในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีและการชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต ของสำนักงานบัญชีในจังหวัดชลบุรี. วารสารสุทธิปริทัศน์, 38(1), 100-118. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/267929

สัญญา เนียมเปรม, วนันพรณ์ ชื่นพิบูลย์, เมชยา ท่าพิมาย, และ กนกวรรณ ศิริแก้ว. (2563). ปัญหาและอุปสรรคในการยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีผ่านระบบอินเตอร์เน็ตของบุคลากรภายในโครงการชลประทานขอนแก่น. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 7(1), 90-103. https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/jfam/article/view/3871

สุรสิทธิ์ บุญชูนนท์ และ กรวิช เหล่าพิทักษ์โยธิน. (2562). อิทธิพลของคุณภาพระบบสารสนเทศ คุณภาพบริการ และคุณภาพข้อบังคับ ต่อความง่ายต่อการใช้งาน การรับรู้ประโยชน์ และการยอมรับการใช้งาน ระบบการเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของเจ้าหน้าที่ศุลกากร กรมศุลกากรประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review. 14(1), 73-89. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241400

อณัศยาภา บุญรอด และ ประสพชัย พสุนนท์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านบริการพร้อมเพย์ของผู้ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทางระบบอินเทอร์เน็ตในเขตพื้นที่จังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 11(2), 3040-3055. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/145595

อภิชญา ภู่เพชร, เรนิตา จันสังสา, สาธิตา เดชแก้ว, ศุภฤกษ์ วิจิตรบรรจง, ธนวัฒน์ ฉิมรักษ์, พรรษชล เที่ยงธรรม, วริศรา ศรีประสงค์, และ พรทิพย์ จิระธํารง. (2566). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และปัญหาในการเสียภาษีของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในจังหวัดสงขลา. Procedia of Multidisciplinary Research, 1(10), 29. https://so09.tci-thaijo.org/index.php/PMR/article/view/3326

เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ. (2563). สรรพากร ชู 9 ระบบ 'Easy Tax' ช่วยผู้ประกอบการลดต้นทุน สร้างวิถีภาษีใหม่. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/894925

Asista, S., & Setyowati, M. S. (2022). Online tax system implementation through digitalization of tax administration on cost and benefit. International Journal of Scientific and Research Publications (IJSRP), 12(3), 269-274. http://dx.doi.org/10.29322/IJSRP.12.03.2022.p12337

Bhavitha, B. (2024). Digitalisation of tax system in India: A critical analysis. Futuristic Trends in Social Sciences, 3(3), 79-94. https://www.doi.org/10.58532/V3BBSO22P1CH11

Cẩm, T. (2022). Taxpayers’ satisfaction for eTax electronic tax service quality. Science & Technology Development Journal: Economics-Law & Management, 6(3), 3069-3080. https://doi.org/10.32508/stdjelm.v6i3.991

DeLone, W. H., & McLean, E. R. (2003). The DeLone and McLean model of information systems success: a ten-year update. Journal of management information systems, 19(4), 9-30. https://doi.org/10.1080/07421222.2003.11045748

Dijkstra, T. K., & Henseler, J. (2015). Consistent partial least squares path modeling. MIS quarterly, 39(2), 297-316. https://misq.umn.edu/consistent-partial-least-squares-path-modeling.html

Elliot, S., Li, G., & Choi, C. (2013). Understanding service quality in a virtual travel community environment. Journal of Business Research, 66(8), 1153-1160. https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2012.03.011

Estrellana, K. D. (2023). Effectiveness of electronic filing and computerized payment system of TAMP taxpayers in Lucena city: A basis to improve collection performance. Acta Electronica Malaysia, 7(1), 15-20. http://doi.org/10.26480/aem.01.2023.15.20

Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39-50. https://doi.org/10.2307/3151312

Grace, K., Olivia, K., & Mangoting, Y. (2023). The urgency of adapting the e-tax system to tax compliance: integration of satisfaction levels. International Journal of Application on Economics and Business, 1(2), 599-608.

Hair, F., Black, C. W., & Anderson, E. R. (2010). Multivariate data Analysis (7th ed.). New York: Pearson.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). New Jersey: Pearson.

Hair, J. F., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2011). PLS-SEM: Indeed a silver bullet. The Journal of Marketing Theory and Practice, 19(2), 139-152. https://doi.org/10.2753/MTP1069-6679190202

Haruna, I. U., Nadzir, M. M., & Awang, H. (2023). The Impact of Quality Factors on Continuous Usage of E-Taxation filing Reporting System. Journal of Advanced Research in Applied Sciences and Engineering Technology, 30(2), 141–153. https://doi.org/10.37934/araset.30.2.141153

Henseler, J., Dijkstra, T. K., Sarstedt, M., Ringle, C. M., Diamantopoulos, A., Straub, D. W., Ketchen, D. J., Hair, J. F., Hult, G. T. M., & Calantone, R. J. (2014). Common beliefs and reality about partial least squares: comments on Rönkkö & Evermann (2013). Organizational Research Methods, 17(2), 182–209. https://doi.org/10.1177/1094428114526928

Henseler, J., Ringle, C. M., & Sinkovics, R. R. (2009). The use of partial least squares path modeling in international marketing. Advances in International Marketing, 20(1), 277- 319. https://doi.org/10.1108/S1474-7979(2009)0000020014

Kresnandita, S. P. (2023). Analyzing the effect of factors on taxpayers’ satisfaction using e-Filing tax reporting system. Journal of Applied Finance and Accounting, 10(1), 1-12. https://doi.org/10.21512/jafa.v10i1.8323

Kresnandita, S. P., Prawati, L. D., & Lusiana. (2023). Analyzing the effect of factors on taxpayers’ satisfaction using e-Filing tax reporting system. Journal of Applied Finance and Accounting, 10(1), 1-13. https://doi.org/10.21512/jafa.v10i1.8323

Laudon, K. C., & Laudon, J. P. (2012). Management Information Systems-Managing the digital firm (12th ed.). London: Pearson.

Luamer, S., Maier, C., & Weitzel, T. (2017). Information quality, user satisfaction, and the manifestation of workarounds: a qualitative and quantitative study of enterprise content management system users. European Journal of Information Systems, 26(4), 333-360. https://doi.org/10.1057/s41303-016-0029-7

Lukman, M., Tenriwaru, T., & Ikhtiari, K. (2022). The effect of tax service quality, application of e-registration and e-Filing on the level of taxpayer satisfaction of personal persons at the tax service office pratama makassar selatan. Contemporary Journal on Business and Accounting, 2(1), 92-101. https://doi.org/10.58792/cjba.v2i1.24

Martínez, C. P. J., & Pinzón, B. H. D. (2022). Success evaluation model of E-government systems for tax administrations: Recognizing the public value from the taxpayer's perspective. In 2022 17th Iberian Conference on Information Systems and Technologies (CISTI) (p. 1-6). IEEE. https://doi.org/10.23919/CISTI54924.2022.9820607

Moraga, C., Moraga, M. Á., Calero, C., & Caro, A. (2009). SQuaRE-aligned data quality model for web portals, In International Conference on Quality Software (p. 117-122). South Korea. http://dx.doi.org/10.1109/QSIC.2009.23

Muslichah, M., Bashir, M. S., & Arniati, T. (2023). The impact of tax e-Filing system quality on taxpayer satisfaction: perceived usefulness as mediator. Journal Riset Akuntansi Kontemporer, 15(2), 252-258. https://doi.org/10.23969/jrak.v15i2.8715

Mustapha, B., & Obid, S. N. S. (2015). Tax service quality: the mediating effect of perceived ease of use of the online tax system. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 172, 2-9. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2015.01.328

Naveed, R. T., Hameed, W. U., Albassami, A. H., & Moshfegyan, M. (2019). Online Tax System (OTS) in Pakistan: The role of Tax Service Quality (TSQ) and Information Communication Technology (ICT). Pacific Business Review International, 11(12), 78-86. http://www.pbr.co.in/2019/2019_month/June/7.pdf

Nguyen, T. Q., Pham, T. A. N., Hoang, A. P., Do, T. H. N., & Fuller, D. (2023). Factors affecting the acceptance of online tax filing and payment system by micro small medium enterprises in Vietnam. Journal of Asian Public Policy, 1–22. https://doi.org/10.1080/17516234.2023.2248640

Nugroho, H. D. (2023). Toward seamless taxation through a split payment mechanism on the marketplace and Quick Response (QR) payment system. Scientax: Jurnal Kajian Ilmiah Perpajakan Indonesia, 5(1), 74–86. https://doi.org/10.52869/st.v5i1.512

Nunnally, J. (1978). Psychometric theory. New York: McGraw Hill.

O’Brien, J. A. (2001). Introduction to information systems. Massachusetts: McGraw-Hill.

Oyebola, O., & Pouliquen, V. (2022). Technology, Taxation, and Corruption: Evidence from the Introduction of Electronic Tax Filing. American Economic Journal: Economic Policy, 14(1), 341–372. https://doi.org/10.1257/pol.20200123

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of marketing, 49(4), 41-50. https://doi.org/10.2307/1251430

Petter, S., Delone, W., & Mclean, E. (2008). Measuring information systems success: models, dimensions, measures, and interrelationships. Euro-pean Journal of Information Systems, 17(3), 236–263. https://doi.org/10.1057/ejis.2008.15

Refiyani, M., & Apriliana, T. (2023). Quality of service, tax outreach, and online payment systems: do they affect taxpayer compliance with land and building taxes (PBB) in the Regional Revenue Agency in the central region of Bandung City?. Gema Wiralodra, 14(2), 598–605. https://doi.org/10.31943/gw.v14i2.474

Rosalia, V., Asfiya, N., Efrianti, D., & Wahyuni, I. (2024). Tinjauan Atas Pengisian Dan Pelaporan SPT Tahunan 1770 S Wajib Pajak Orang Pribadi Melalui E-Filling. Jurnal Aplikasi Bisnis Kesatuan, 4(1), 73-102. https://doi.org/10.37641/jabkes.v4i1.1898

Saptono, P. B., Hodžić, S., Khozen, I., Mahmud, G., Pratiwi, I., Purwanto, D., Aditama, M. A., Haq, N., & Khodijah, S. (2023). Quality of e-tax system and tax compliance intention: the mediating role of user satisfaction. Informatics, 10(1), 22. https://doi.org/10.3390/informatics10010022

Setyoko, P., Faozanudin, M., Wahyuningrat, W., Harsanto, B., Simin, S., Isna, A., & Rohman, A. (2023). The role of e-billing and e-SPT implementation on user satisfaction of e-filing taxpayers. International Journal of Data and Network Science, 7(2), 965-972. https://doi.org/10.5267/j.ijdns.2022.12.014

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-28

How to Cite

ศรีนุกูล ศ., อุปปิง เ., เมตตะธำรงค์ จ., & ไชยชนะ ช. (2024). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายผ่านอินเทอร์เน็ตของบุคลากรส่วนราชการและองค์การของรัฐในจังหวัดสกลนคร . วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 11(2), 58–74. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/jlams/article/view/988