การอภิมานเชิงชาติพันธุ์วรรณนาเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ณัฐพัชร์ อภิวัฒน์ไพศาล สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

การสังเคราะห์งานวิจัย , ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา , ชาติพันธุ์วรรณนาอภิมาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะงานวิจัย เพื่อสังเคราะห์การแปลความหมายบทความวิจัยและบทความวิชาการ และเพื่อสร้างแผนที่เฉพาะเรื่อง รวมถึงแนวทางในการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทยโดยใช้ฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2556-2565 มีบทความวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกจำนวน 30 บทความ ผลการสังเคราะห์งานวิจัยใน 4 ด้านพบว่า 1) ด้านรูปแบบบทความ บทความแต่ละเรื่องมีผู้ประพันธ์ 1-3 คน มีจำนวนหน้าทั้งหมดโดยเฉลี่ย 14 หน้า จำนวนหน้าเนื้อหาเฉลี่ย 12.50 หน้า และจำนวนหน้าอ้างอิงเฉลี่ย 1.50 หน้า 2) ด้านเนื้อหาสาระ ผลการสังเคราะห์วัตถุประสงค์พบว่ามีจำนวน 60 ข้อ จัดได้ 7 กลุ่ม นอกจากนี้ผลการสังเคราะห์การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับตัวแปรมีจำนวน 17 ตัวแปร จัดได้ 3 กลุ่ม 3) ด้านวิธีวิทยาการวิจัย ประกอบด้วย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูล และการทดสอบนัยสำคัญทางสถิติ และ 4) ด้านคุณภาพงานวิจัย พบว่าผลการประเมินคุณภาพงานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์อยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.41-4.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .699 ค่าความเบ้ เท่ากับ -1.646 และค่าความโด่ง เท่ากับ 1.382 แนวทางในการทำวิจัยในอนาคตควรมุ่งเน้นเกี่ยวกับกฎหมายอีเพย์เมนต์ ปัญหาการเก็บภาษีบนตลาดออนไลน์ ความผิดทางภาษีอากร และผลกระทบจากมาตรการให้ความช่วยเหลือของรัฐบาล

References

กรมสรรพากร. (2561). คู่มือภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2567, จาก https://www.rd.go.th/region/07/fileadmin/065/003_newsactivity/2565/guideline50_50.pdf

กระทรวงการคลัง (2567). รายได้รัฐบาล ผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาล ส่วนบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศกระทรวงการคลัง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2567, จาก https://dataservices.mof.go.th/menu3?id=2

กองกฎหมาย กรมสรรพากร. (2562). ความเข้าใจเรื่อง e-Payment สำหรับประชาชน. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2567, จาก https://www.rd.go.th/publish/seminar/Seminar_190813.pdf

งามพรต พรหมมานต, ภาณินี กิจพ่อค้า, และ ชนินาฏ ลีดส์. (2563). ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ศึกษากรณีการหักลดหย่อนภาษีของสามีและภรรยา. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 13(2), 79-92. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JTJS/article/view/230821/169340

จารุวรรณ พิมเสน และ ดารณี เอื้อชนะจิต. (2565). คุณลักษณะของผู้ใช้ระบบสารสนเทศที่มีผลต่อความสำเร็จของระบบสารสนเทศ กรณีศึกษา การยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 23. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(10), 261-273. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/view/259411

เจตพล ติปยานนท์ และ ฑิฆัมพร ทวีเดช. (2564). การยกระดับความสามารถการใช้ระบบ e-Filing ของผู้ยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(2), 205-218. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/papojournal/article/view/252815

ชานนท รักษ์กุลชน และ สุรพล ศรีวิทยา. (2560). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับภาษีเงินได้ของคณะบุคคลและห้างหุ้นส่วนสามัญ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 7(3), 366-370. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSocSci/article/view/101019

ณัฐกานต์ นาคีเภท และ ฉันทิชา บัวศรี. (2563). ศึกษาความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติเกี่ยวกับการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของประชาชนในตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(2), 97-112. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ecbatsu/article/view/245006

ดวงใจ พรหมมินทร์ และ อภิญญา วนเศรษฐ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่มกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ. วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ, 8(16), 1-17. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/econswu/article/view/117858

ธนิดา จิตร์น้อมรัตน์. (2559). การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้ถูกต้องทำอย่างไร. สุทธิปริทัศน์, 30(95), 13-27. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/244147/165852

ธนิษฐ์ฌา พูนทอง และ สุมาลี รามนัฎ. (2564). ความพึงพอใจเกี่ยวกับนโยบายสิทธิประโยชน์ทางภาษีของผู้มีเงินได้ กรณีศึกษา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ปีภาษี 2562. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2), 46-59. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/WTURJ/article/view/254276

ธวัลรัตน์ เชื้อวงศ์บุญ, พามดา ชูวุฒยากร, และ ชีวพร อินแสง. (2560). ปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: กรณีตลาดออนไลน์บนเฟสบุ๊คในประเทศไทย ในปี 2560. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(2), 15-30. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pyu/article/view/123268

ธำรงศักดิ์ เศวตเลข และ กาญจนา พรสัมฤทธิสกุล. (2565). ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย: ปัญหาที่ถูกซ่อนอยู่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 17(1), 1-16. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/263168

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542) การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพมหานคร: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ๊ฟ.

นภา นาคแย้ม. (2558). ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: ฉบับมนุษย์เงินเดือน (ภ.ง.ด.91). วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 21(1), 38-56. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/CUTJ/article/view/241402

นุชจรี คณฑา และ ไพโรจน์ รัตนบุรี. (2562). คุณภาพการให้บริการส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านสำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาของผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2(3), 101-114. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ibas/article/view/207654

บุณยานุช รวยเงิน, มัลลิกา ชนะภัย, และ กัลยา บุญหล้า. (2565). ความรู้และทัศนคติต่อการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, 31(2), 70-83. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/science_kmitl/article/view/254612

พิชญะ อุทัยรัตน์. (2558). การแก้ไขปรับปรุงประมวลรัษฎากรและอนุบัญญัติเพื่อสร้างความสมัครใจในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 2(1), 1-14. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMSNPRU/article/view/150300

มธุรส สำราญ และ อนุชาติ บุนนาค. (2559). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจของผู้เสียภาษีในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทางระบบอินเทอร์เน็ต: กรณีศึกษา สำนักงานสรรพากรพื้นที่สระแก้ว. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 2(1), 1-17. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/SB_Journal/article/view/192972

รัตนะ บัวสนธ์. (2550). ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วรินทร เอิบแจ้ง และ ธัญนันท์ บุญอยู่. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการนวัตกรรมการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่าน

อินเตอร์เน็ตของประชาชนในเขตพื้นที่หนองแขม. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(8), 153-165. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/

view/255205

วิภาดา สุขสวัสดิ์. (2563). การศึกษาความรู้ ความเข้าใจ ของผู้เสียภาษีอากรที่มีผลต่อทัศนคติการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 13 (เขตคลองเตย). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 4(2), 1-7. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/saujournalssh/article/view/248458

วิริยะศิตา พิมพ์สุวรรณ และ พรทิวา แสงเขียว. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อความสมัครใจในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้มีเงินได้ในเขตภาคตะวันออก. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(41), 200-214. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RJPJ/article/view/251020

ศิริพร แซ่อึ้ง และ อมรรัตน์ อภินันท์มหกุล. (2563). ผลของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อการกระจายรายได้. วารสารพัฒนาการเศรษฐกิจปริทรรศน์, 14(1), 57-78. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NER/article/view/240478

ศิริยุภา พูลสุวรรณ. (2555). การวิเคราะห์อภิมาน: การวิเคราะห์ที่เหนือกว่าการวิเคราะห์ทั่วไป. วารสารวิจัยและพัฒนา หลักสูตร, 2(2), 44-51. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jrcd/article/view/93168

ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์ และ จักริน วชิรเมธิน. (2560). ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(ฉบับพิเศษ), 236-248. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/94389

ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์. (2565). ผลกระทบทางภาษีอากรต่อผู้ประกอบการจากโครงการช่วยเหลือจากภาครัฐในช่วงการระบาดของโควิด-19. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 41(4), 86-100. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/humsujournal/article/view/256050

สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) (สพร.). (2565). ภาษีมาจากไหน. สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2565, จาก https://govspending.data.go.th/dashboard/5

สิตานันท์ ศรีวรกร และ วรัญญา ตรงพิสุทธิ์ศักดิ์. (2562). คำพิพากษาฎีกาที่น่าสนใจ: ผู้มีเงินได้ที่เป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามสัญญาเช่า กรณีผู้ให้เช่าจดทะเบียนสิทธิเก็บกินให้แก่ผู้ทรงสิทธิเก็บกิน. วารสารรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์, 8(2), 303-315. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/lawjournal/article/view/231869

สิริกร ศิริปรีชา และ สัมพันธ์ พลภักดิ์. (2561). การบริหารจัดการการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของกรมสรรพากร. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 137-150. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/164661

สุภาภรณ์ จุลวัฒฑกะ และ ประภัสสระ กิตติมโนรม. (2561). ความเข้าใจในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของพนักงานในเครือคุณาลัยกรุ๊ป. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 4(1), 69-76. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pacific/article/view/177964

สุเมธ ศิริคุณโชติ, กำธร สิริชูติวงศ์, อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์, และภิรัตน์ เจียรนัย. (2567). ภาษีอากรตามประมวลรัษฏากร 2567. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์, จิรายุ ทรัพย์สิน, และ วันชัย สุขตาม. (2561). สถานการณ์และผลกระทบจากการใช้มาตรการด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการลดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ในประเทศไทย. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 5(2), 101-108. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/167712

หทัยรัตน์ เหล็กพิมาย, ยุทธนาท บุณยะชัย, และ พรรณเพ็ญ สิทธิพัฒนา. (2565). ทัศนคติของผู้เสียภาษีที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 16(1), 402-415. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hsjournalnmc/article/view/257132

อณัศยาภา บุญรอด และ ประสพชัย พสุนนท์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านบริการพร้อมเพย์ของผู้ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทางระบบอินเทอร์เน็ตในเขตพื้นที่จังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 11(2), 3040-3055. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/145595

Glass, G. V. (1982). Meta-analysis: an approach to synthesis of research results. Journal of Research in Science Teaching, 19(2), 93-112. https://doi.org/10.1002/tea.3660190202

Noblit, G. W., & Hare, R. D. (1988). Meta-ethnography: synthesizing qualitative studies. Newbury Park: Sage.

St. Pierre, R. G. (1982). Follow Through: A case study in meta-evaluation research. Educational Evaluation and Policy Analysis, 4(1), 47-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-28

How to Cite

อภิวัฒน์ไพศาล ณ. (2024). การอภิมานเชิงชาติพันธุ์วรรณนาเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 11(2), 75–98. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/jlams/article/view/917