การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยกระบวนการสร้างคุณค่าร่วมกัน ของผลิตภัณฑ์ข้าวตังเสวย จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์, การสร้างคุณค่าร่วมกัน, ข้าวตังเสวยบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และสำรวจความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อการพัฒนาตราสินค้า ป้ายฉลาก และการบรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษากลุ่มข้าวตังเสวย ตำบลงิ้ว อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ใช้วิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (PAR) นอกจากนี้ การวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อสำรวจความคิดเห็นของลูกค้าที่มีต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวตังเสวย โดยใช้แบบสอบถามปลายเปิดและปิดเพื่อรวบรวมข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถาม 400 คน ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยการสร้างตราสินค้า ป้ายฉลาก และการบรรจุภัณฑ์สามารถช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีความโดดเด่น บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับตัวสินค้าและสามารถแข่งขันในตลาดได้ ในขณะที่ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการพัฒนาตราผลิตภัณฑ์ ป้ายฉลากและการบรรจุภัณฑ์ พบว่า ด้านการพัฒนาตราผลิตภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.25, S.D.
= 0.470) ด้านการพัฒนาป้ายฉลากโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (
= 4.46, S.D. = 0.418) และด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (
= 4.41, S.D.
= 0.387) งานวิจัยนี้ช่วยเติมเต็มและทำให้ทราบถึงความคิดเห็นผู้บริโภคที่มีต่อการตัดสินใจซื้อ ท้ายที่สุดนี้ผู้ประกอบการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนางานในระดับที่สูงขึ้น
References
กฤษณะ ดาราเรือง. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และกลยุทธ์ทางการตลาดวิสาหกิจชุมชนบ้านเขาแหลม จังหวัดนครสวรรค์. สุทธิปริทัศน์, ปีที่ 31 ฉบับที่ 100, 130-143.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). หลักสถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
เจษฎา พัตรานนท์. (2553). การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจักสานท้องถิ่นโดยใช้วิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษากลุ่มจักสานใบกะพ้อ ตำบลทุ่งโพธิ์ อำเภอจุฬาภรณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
ฉัตรชัย อินทสังข์ และคณะ. (2562). หลักการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). นครราชสีมา: เอ็กปริ้นติ้ง.
ณัฐนันท์ วิริยะวิทย์. (2559). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และสื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนปาริชาต เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย, ปีที่ 21, ฉบับที่ 1, 143-153.
ทวีศักดิ์ แสวงสาย. (2561). การพัฒนาการตลาดผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์แปรรูปเพื่อสุขภาพ กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรทฤษฎีใหม่ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ธีรา เดชนครินทร์, ธนัญญา ยินเจริญ และอัคญาณ อารยะญาณ. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองของผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลเกาะแต้ว จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(53), 225-254.
ปัณณ์ณัช ธนัทพรรษรัตน์ และฉันทนา สุรัสวดี. (2558). การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนโดยใช้วิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษา: ผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือนบ้านคลองเดื่อ พัฒนา ตำบลท่ามะนาวอำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 7(76).
มยุรี ภาคลำเจียก. (2558). รอบรู้บรรจุภัณฑ์. กรุงเทพมหานคร: จินดาสาส์นการพิมพ์.
ศศินันท์ ศาสตร์สาระ มงคล ณ ลำพูน ดำรงศักดิ์ หัตถศาสตร์ นพปฎล ขิงทอง และอธิวัฒน์ เกียรติพีรติกุล (2559). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้าเกษตรแปรรูปจากมันเทศ ตำบลทับน้ำ และตำบลบ้านม้า อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2557). กระบวนการสร้างคุณค่าร่วมกัน: กระบวนทัศน์การตลาดใหม่ในยุคสังคมออนไลน์. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สงขลานครินทร์, ปีที่ 20, ฉบับที่ 3, 161-185.
สันติธร ภูริภักดี. (2561). การพัฒนาองค์ความรู้สาหรับการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันแก่ผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ในเขตจังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร. Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
และศิลปะ, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2, 2153-2168.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564). สำนักนายกรัฐมนตรี. 1-22.
อมรรัตน์ บุญสว่าง. (2559). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมสินค้าอาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2, 33-60.
AMA. (2004). Definition of Marketing, American Marketing Association. (ออนไลน์). ค้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563. เข้าถึงจาก http://www.marketingpower.com.
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques, Third Edition. New York: John Wiley & Sons.
Creswell, J., & Plano Clark, V. (2007). Designing and Conducting Mixed Methods Research. Thousand Oaks, CA: Sage
Hakola, J. (2013). Customer perceptions of the value of new packaging technologies. Journal of Business and Industrial Marketing, 28(8), 649-659.
Kotler, P., & Keller, K. (2009). Marketing Management (13th ed.). Pearson Prentice Hall.
Pongsakornrungsilp, S. & Schroeder, J.E. (2011). Understanding value co-creation in a co-consuming brand community. Marketing Theory, 11(3), 303-24.
Rundh, B. (2016). The role of packaging within marketing and value creation. British Food Journal, 118(10), 2491-2511.
Sari, A., & Bayram, P. (2015). Challenges of internal and external variables of consumer behaviour towards mobile commerce. International Journal Communications, Network and System Sciences, 8(13), 578.
Vargo, S.L. & Lusch, R.L. (2008). Service-Dominant Logic: Continuing the Evolution. Journal of the Academic Marketing Science, 36, 1-10.
Zikmund, W.G., Babin, B.J., Carr, J.C. & Griffin, M. (2013). Business Research Methods, (9thed). Canada: South-Western
