ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและโครงสร้างความเป็นเจ้าของธุรกิจแบบครอบครัวกับผลการดำเนินงานของกิจการ

ผู้แต่ง

  • สุพัตรา ละดาดาษ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

ผลการดำเนินงาน, คณะกรรมการสรรหา, คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และโครงสร้างความเป็นเจ้าของธุรกิจแบบครอบครัวกับผลการดำเนินงานของกิจการ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2556 – 2560  จำนวน 825 บริษัท ยกเว้น บริษัทที่อยู่ระหว่างฟื้นฟูการดำเนินงาน กลุ่มธุรกิจการเงินกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต โดยเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากระบบฐานข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ออนไลน์ (SET SMART) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางเศรษฐมิติในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษาพบคณะกรรมการทั้งสามรูปแบบนี้ไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับผลการดำเนินงานของกิจการที่วัดโดยอัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ (ROA) และผลการดำเนินงานที่วัดโดยมูลค่าทางการตลาด (Tobin’s Q) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้สูง ที่คณะกรรมการกลุ่มนี้อาจขาดผู้เชี่ยวชาญหรือถูกลดบทบาทในการนำเสนอข้อมูลที่สำคัญต่อการบริหาร ดังนั้นจึงไม่ส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของบริษัท

References

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2555). หลักการกำกับดูแลกิจการที่สำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555. ศูนย์พัฒนาการ

กำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน.

พรอนงค์ บุษราตระกูล และสุนทรี เหล่าพัดจัน. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าตอบแทนกรรมการ ระดับของการ

กำกับดูแลกิจการที่ดีและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนของประเทศไทย.

วิภาดา ภาโนมัย. (2559). โครงสร้างคณะกรรมการบริหารกับผลการดาเนินงานของบริษัทจดทะเบียนกลุ่มธุรกิจอาหารและ

เครื่องดื่ม. WMS Journal of Management, 5(2), 44-55.

Anderson, R. C., & Reeb, D. M. (2003). Founding-Family Ownership and Firm Performance: Evidence from

the S&P 500. The Journal of Finance, 58(3), 1301-1328.

Barontini, R., & Caprio, L. (2006). The Effect of Family Control on Firm Value and Performance: Evidence

from Continental Europe. European Financial Management, 12(5), 689-723.

Bhabra, G. S. (2007). Managerial ownership and firm-value in New Zealand. Journal of Multinational

Financial Management, 17, 142–154.

Black, BS, Jang, H, & Kim, U. (2002). Does corporate governance matter?: Evidence from the Korean

market.

Cybinski, Patti, & Windsor, Carolyn. (2013). Remuneration Committee Independence and CEO

Remuneration for Firm Financial Performance (Vol. 26).

Fama, Eugene F, & Jensen, Michael C. (1983). Separation of Ownership and Control. Journal of Law and

Economics, 26.

Fauzi, Fitriya, & Locke, Stuart. (2012). Board structure, ownership structure and firm performance: A study

of New Zealand listed-firms. Asian Academy of Management Journal of Accounting and Finance, 8(2), 43-

Hermalin, B. E, & Weisbach, Michael. (2003). Boards of directors as an endogenously determined

institution: a survey of the economic literature. Economic Policy Review, 5, 7-26.

Jensen, Michael C., & Meckling, William H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency

costs and ownership structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360.

Kallamu, Basiru Salisu. (2016). Nomination Committee Attributes and Firm Performance. Evidence from

Finance Companies in Malaysia. 3(1), 16.

Klein, April. (1998). Firm Performance and Board Committee Structure. The Journal of Law & Economics,

(1), 275-304.

Mintah, Peter Agyemang. (2015). The nomination committee and firm performance. An empirical

investigation of UK financial institutions during the pre/post financial crisis (Vol. 11).

Mintah, Peter Agyemang. (2016). Remuneration Committee governance and firm performance in UK

financial firms. Investment Management and Financial Innovations, 13(1), 176-190.

Mintah, Peter Agyemang, & Schadewitz, H. (2015). Audit Committee and its impact on the financial

performance of a firm. An empirical investigation of UK financial institutions during the pre/post

financial crisis. Working Paper.

Mohammad, Ahmad Abu Zraiq, & Fadzil, Faudziah Hanim Bt. (2018). The Impact of Ownership Structure

on Firm Performance: Evidence from Jordan. International Journal of Accounting, Finance and Risk

Management, 3(1), 1-4.

Shyu, J. (2011). Family ownership and firm performance: evidence from Taiwanese firms. International

Journal of Managerial Finance, 7(4), 397-411.

Yeh, Y. H., Lee, T. S., & Ko, C. E. (2002). Corporate Governance and Rating System. Taipei: Sunbright

Publishing Co. (in Chainese).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30

How to Cite

ละดาดาษ ส. (2019). ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนและโครงสร้างความเป็นเจ้าของธุรกิจแบบครอบครัวกับผลการดำเนินงานของกิจการ. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 6(1), 30–45. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/jlams/article/view/41