ผลกระทบของการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบต่อราคาหุ้นของบริษัทใน ตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ

ผู้แต่ง

  • อาริษา ทองสุข คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • จิตธนา จงจิตต์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ชนากานต์ สุโข คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • เมขลา พงสถิต คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • อรทัย รุ่งระมา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • บุณยานุช ไวยทรง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ศศิวิมล จาบกระโทก คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นันทิยา พรมทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • บัญชา ไชยสมคุณ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ, ราคาหุ้น, กำไรต่อหุ้น

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) จำนวนรายการในวรรคเรื่องสำคัญในการตรวจสอบและประเด็นที่เปิดเผยในรายงานของผู้สอบบัญชี 2) เพื่อทดสอบผลกระทบของการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบกับราคาหุ้นของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ โดยศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 188 บริษัท โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติทั้งเชิงพรรณนาและเชิงอนุมานเป็นการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่ามีการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบเฉลี่ยจำนวน 1.38 เรื่องและประเด็นที่มีการเปิดเผยมากที่สุดคือการรับรู้รายได้ การวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือและการด้อยค่าสินทรัพย์ตามลำดับ และจำนวนเรื่องสำคัญในการตรวจสอบไม่ส่งผลกระทบต่อราคาหุ้นของบริษัท อย่างไรก็ตามผู้สอบบัญชีควรเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบอย่างชัดเจนและตรงประเด็น โดยเลือกประเด็นที่ส่งผลต่องบการเงินเพื่อให้ข้อมูลสำคัญแก่ผู้ใช้ข้อมูลและเพิ่มความเข้าใจในสถานะการเงินของบริษัท

References

กนกอร แก้วประภา, กิ่งกาญจน์ มูลเมือง, และ มาลี จตุรัส. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานผู้สอบบัญชีและคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET100. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(3), 137-153. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/250364

ณัฎฐา บุญโถ, มนทิพย์ ตั้งเอกจิต, และ สุวรรณา เลาหะวิสุทธิ์. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของบริษัทคุณค่าด้านการสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ และราคาหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 12(1), 70-95. https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/business/article/view/8700

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2567). รายชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2567,

จาก https://www.set.or.th/th/company/companylist.html.

นันทิยา พรมทอง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องสำคัญในการตรวจสอบและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 35(1), 77-94. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/243293

นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ, ศิลปพร ศรีจั่นเพชร, และ ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2560). อ่านและเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส.

วชิระ บุณยเนตร, และ แววดาว พรมเสน. (2562). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ: ข้อมูลที่มีคุณค่าเพียงเล็กน้อยของนักลงทุนในตลาดเกิดใหม่?. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 41(1), 153-183. https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14456/cbsr.2019.6

ศศิมา สีเจริญ, และ ศิรดา จารุตกานนท์. (2566). การตอบสนองของนักลงทุนต่อการสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 12(1), 96-118. https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/business/article/view/8701

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2560). “เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ” ในหน้ารายงานผู้สอบบัญชีกับการตอบสนองของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(38), 22-37. http://www.jap.tbs.tu.ac.th/files/Article/Jap38/Full/Jap38Sillapaporn.pdf

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2567, จาก https://acpro-std.tfac.or.th/uploads/files/TSA/2559_TSA701.pdf

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2560). การกำกับดูแลผู้สอบบัญชี. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.sec.or.th/TH/Pages/LawandRegulations/AuditorDoc.aspx

Bédard, J., Gonthier-Besacier, N., & Schatt, A. (2019). Consequences of Expanded Audit Reports: Evidence from the Justifications of Assessments in France. AUDITING: A Journal of Practice & Theory, 38(3), 23-45. https://doi.org/10.2308/ajpt-52339

Christensen, B. E., Glover, S. M., & Wolfe, C. J. (2014). Do Critical Audit Matter Paragraphs in the Audit Report Change Nonprofessional Investors’ Decision to Invest?. Auditing: A Journal of Practice & Theory, 33(4), 2014, 71-93. http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.2318590

Jensen, M., & Meckling, W. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and capital structure. Journal of Financial Economics, 3(4), 305-360. https://doi.org/10.1016/0304-405X(76)90026-X

Sirois, L., Bédard, J., & Bera, P. (2018). The Informational Value of Key Audit Matters in the Auditor’s Report: Evidence from an Eye-Tracking Study. Accounting Horizons, 32(2), 141-162. http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.2469905

Spence, M. (1973). Job market signaling. The quarterly journal of Economics, 87(3), 355-374. https://doi.org/10.2307/1882010

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-28

How to Cite

ทองสุข อ., จงจิตต์ จ., สุโข ช., พงสถิต เ., รุ่งระมา อ., ไวยทรง บ., จาบกระโทก ศ., พรมทอง น., & ไชยสมคุณ บ. (2024). ผลกระทบของการเปิดเผยเรื่องสำคัญในการตรวจสอบต่อราคาหุ้นของบริษัทใน ตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 11(2), 114–125. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/jlams/article/view/1089