การเมืองจีนช่วงสี จิ้นผิง นโยบายรอบรัฐ นโยบายต่างประเทศของจีน เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองภายในและระหว่างประเทศ
Main Article Content
Abstract
นโยบายภายในและนโยบายต่างประเทศในวิสัยทัศน์ของสี จิ้นผิงนั้นเน้นการสร้างความมั่งคั่ง ไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาประเทศให้กลับไปเป็นผู้นำในเวทีโลกอีกครั้งจนนำไปสู่การกำหนดนโยบายโดยเน้นการพัฒนา 3 ด้าน คือ ด้านการเมือง เช่น การปฏิรูประบบทหาร นโยบายลูกสามคน เพื่อเพิ่มจำนวนประชากร และได้ทำการวางยุทธศาสตร์ในการพัฒนาของประเทศ ด้านเศรษฐกิจ เช่น นโยบายลดความยากจน และด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น “ยุทธศาสตร์ Belt and Road Initiative : BRI” หรือ “ข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง” เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับนานาประเทศ
Article Details
References
กิตติพศ พุทธิวนิช. (2563). การปฏิรูปกองทัพปลดแอกประชาชน : นัยต่อความเป็นผู้นำของสีจิ้นผิง. วารสารสังคมศาสตร์, 50(1), 1-24.
กมลชนก โตสงวน. (2562). เส้นทางประวัติศาสตร์การปกครองของประเทศจีน THE HISTORY OF CHINA’S GOVERNMENT. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 315-329.
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ และวาสนา วงศ์สุรวัฒน์. (2565). ประวัติศาสตร์จีนหลังเหมา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ซิลค์เวอร์ม.
กนกกฤษณ์ รักษาพราหมณ์. (2566). “ฟิลิปปินส์ – จีน” กับความขัดแย้งระลอกใหม่ในทะเลจีนใต้. MarSec Focus, 12/2566, 1-2.
กระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. (2559). 中国在南海的主权和海洋权益不会因仲裁结果受到任何影响. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2567 จาก https://www.mfa.gov.cn/web/wjb_673085/zzjg_673183/xws_674681/xgxw_674683/201607/t20160716_7676227.shtml
เขียน ธีระวิทย์. (2541). นโยบายต่างประเทศจีน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจี้ยน กวอ และนรชาติ วัง. (2561). การวิเคราะห์นโยบายด้านยุทธศาสตร์ “ยุคสมัยใหม่” ของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง. วารสาร MFU Connexion, 7(2), 198-221.
จันทร์ฉาย ภัคอธิคม. (2542). ประวัติศาสตร์จักรวรรดิจีน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จุลชีพ ชินวรรโณ. (2555). ผลัดแผ่นดินมังกร: จีนภายใต้ผู้นำรุ่นที่ 5. กรุงเทพฯ: openbooks
จุลชีพ ชินวรรโณ. (2565). มังกรผงาด : 70 ปีการเมืองสาธารณรัฐประชาชนจีน (ค.ศ. 1949-2019). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มุกรวี ฉิมพะเนาว์. (2563). การพัฒนาสู่ความทันสมัยกับโมเดลการพัฒนาแบบจีน. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 9(3), 260-272.
ลดาวัลย์ ไข่คำ. (2566). จากนโยบาย “ลูกคนเดียว” สู่ “ลูกสามคน” : บทวิเคราะห์ความท้าทายของนโยบายควบคุมจำนวนประชากรในจีนสมัยใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 49(2), 13-26. ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ. (2560). อาเซียนและความขัดแย้งในทะเลจีนใต้. วารสารเอเชียพิจาร, 4(8), 59-87.
หยางจงเหม่ย. (2557). สีจิ้นผิง: บนทางแยกประวัติศาสตร์จีน[Xi Jin Ping: zhan zai li shi shi zi lu kou de Zhong gong xin ling dao ren] (กนิษฐา ลีลามณี, แปล). กรุงเทพฯ :มติชน. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2011)
หลี่ยาฮุ่ย. (2560, กรกฎาคม 2). Full Text: Xi’s speech at meeting marking HK’s 20thanniversary, inaugural ceremony of 5th-term HKSAR gov’t. [Block post].สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2564 จาก https://www.ecns.cn/2017/07-02/263704.shtml
หวัง เต้าหมิง และวราวุฒิ เรือนคำ. (2564). วิเคราะห์แนวคิดนโยบายลดความยากจนของประธานาธิบดี สี จิ้นผิง. วารสารสุทธิปริทัศน์, 35(3), 249-270.
อักษรศรี พานิชสาส์น. (2565). ถอดบทเรียนแก้จนแบบจีนด้วยแนวทาง 2D 3M. วารสารรัฎฐาภิรักษ์, 64(1), 75-84.
อักษรศรี พานิชสาส์น. (2566). รูปแบบเศรษฐกิจจีนยุคสีจิ้นผิงและการปรับประยุกต์กับเศรษฐกิจไทย. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 65(2), 47-58.
China Radio International. (2567, มีนาคม 1). จีนประกาศสถิติการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติปี 2023. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2567 จากhttps://thai.cri.cn/2024/03/01/ARTIFcB0bUrTLta1Tzn8DtJY240301.shtml
MERICS. (2018). Mapping the Belt and Road initiative: this is where we stand. [Image]. จาก https://merics.org/sites/default/files/2020-06/Silkroad-Projekt_EN_2020_150dpi.png