การมีส่วนร่วมทางการเมืองและความเท่าเทียมทางเพศ: ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกมาเรียกร้องพระราชบัญญัติสมรสเท่าเทียมในประเทศไทย

Main Article Content

วีริศ ปานอู

Abstract

บทความนี้เป็นบทความวิชาการเชิงประวัติศาสตร์ที่มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาประวัติการเรียกร้องของการสมรสเท่าเทียมของกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศในเรื่องของการสมรสเท่าเทียม 2) ปัจจัยที่ทำให้ประชาชนออกมาชุมนุมในการเรียกร้องให้เปลี่ยนร่างกฎหมายการสมรสเท่าเทียมทางเพศ ในสังคมปัจจุบันความรู้ด้านความหลากหลายทางเพศ มีการศึกษาในด้านกฎหมายมากขึ้น เพื่อขับเคลื่อนสังคมให้เกิดความเข้าใจโดยเป็นความเข้าใจบนพื้นที่ของอุดมการณ์สิทธิมนุษยชนสากลเพื่อมาสนับสนุนความเท่าเทียมและสิทธิทางเพศให้กับกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ บทความชิ้นนี้จะนำเสนอในประเด็นของความเป็นมาของกลุ่มผู้เรียกร้องพระราชบัญญัติสมรสเท่าเทียม ความสำคัญของของพระราชบัญญัติสมรสเท่าเทียม และปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนทั้งปัจจัยทางด้านสื่อและปัจจัยทางด้านสังคม

Article Details

How to Cite
ปานอู ว. . (2023). การมีส่วนร่วมทางการเมืองและความเท่าเทียมทางเพศ: : ปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกมาเรียกร้องพระราชบัญญัติสมรสเท่าเทียมในประเทศไทย. Political Science and Public Administration Journal of Kasetsart University (PSPAJKU), 1(2), 1–24. Retrieved from https://so14.tci-thaijo.org/index.php/PSPAJKU/article/view/520
Section
Articles

References

Amnesty.สิทธิในการชุมนุม. [เว็บบล็อก] สืบค้นจาก https://www.amnesty.or.th/our-work/assembly/

Ilaw.(2564,12 พฤศจิกายน).เปิดผลโพล #สมรสเท่าเทียม 99.9% เห็นด้วยให้มีกฎหมายรับรองสิทธิจดทะเบียนสำหรับเพศหลากหลาย.[blog]. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2566 จาก https://ilaw.or.th/node/6016

Pipatpong .(2565,24 พฤศจิกายน).สรุปข้อมูล “สมรสเท่าเทียม” อยู่ตรงไหน สนับสนุนเท่าไหร่ ผ่านแล้วได้อะไร.[blog]. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2566 จาก https://workpointtoday.com/lgbt-221124/

Pipatpong Sriwicha และ Wasinee Pabuprapap.สรุปข้อมูล “สมรสเท่าเทียม” อยู่ตรงไหน สนับสนุนเท่าไหร่ ผ่านแล้วได้อะไร.[เว็บบล็อก] สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/lgbt-221124/

SPECTRUM.(2563,26 ธันวาคม).สถาบันไทยที่ทำร้าย LGBT+.[Video].สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2566 จาก https://www.youtube.com/watch?v=obRo0RPdbjo

Thaipbs.ทำไมต้อง "สมรสเท่าเทียม" หนึ่งเสียงสะท้อนขอสิทธิ "คนเท่ากัน”.[เว็บบล็อก] สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/316601

The standard.(2565,14 กุมภาพันธ์).สำนักงานเขตบางรักปฏิเสธจดทะเบียนสมรสให้คู่รัก LGBTQ หลังนักกิจกรรมควงแฟน ยืนยันสิทธิ #สมรสเท่าเทียม.[Blog].สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2566 จาก https://thestandard.co/bangrak-district-office-reject-signing-lgbtq-marriage-registration/

Today writer.(2566,14 กุมภาพันธ์).เช็กพิกัด สำนักงานเขตให้คู่รัก LGBTQ จดแจ้งชีวิตคู่ วันวาเลนไทน์.[blog]. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2566 จาก https://workpointtoday.com/news-294/

กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์, พระมหาอรุณ ปญฺญารุโณ,สุพัตรา สันติรุ่งโรจน์และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.(2562).ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย.[ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์].วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์,6(8),3765 – 3768.

ชวินโรจน์ ธีรพัชรพร.เปิด 9 เหตุผล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม.[เว็บบล็อก] สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2556 จาก https://thestandard.co/key-messages-equal-marriage/

ชุฌาดา ทองกลับ,พิชญาภา รุ่งเรือง และภูณิศา สุนทราณู.(2564).มุมองนักศึกษากฎหมาย(generation Z) ต่อคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีการสมรสของคนเพศเดียวกัน.[ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์].วาสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ,12(2),75-79.

ประชาไท.ประมวล #ม็อบ28พฤศจิกา64 ล่ารายชื่อเสนอร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมฉบับ ปชช. .[เว็บบล็อก] สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2556 จาก https://prachatai.com/journal/2021/11/96163

ผศ.ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ,ดร.กิตติกร สันคติประภา,ผศ.ดร.จเร สิงหโกวินท์,ผศ.ดร.โธมัส กวาดามูซ,ดร.รฤพนธ์ ด้วงวิเศษ,และดร.ปุรินทร์ นาคสิงห์.(2560).เมื่อร่างกายเป็นแพศ:อำนาจเสรีนิยมใหม่ของเพศวิถีในสังคมไทย.กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษวิทยาสิรินธร.

มติชน.(2563,30 ตุลาคม).เจ็บปวด! ขรก. ครู ตัดพ้อ ใช้สิทธิเบิกช่วยสามีที่เป็นมะเร็งไม่ได้ เหตุเป็นคนข้ามเพศ.[blog].สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2566 จากhttps://www.matichon.co.th/social/news_2419335

วจนา วรรลยางกูร.‘สรุปข้อมูล “สมรสเท่าเทียม” อยู่ตรงไหน สนับสนุนเท่าไหร่ ผ่านแล้วได้อะไร.[เว็บบล็อก] สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2556 จากhttps://workpointtoday.com/lgbt-221124/

ศิริพร เพียรชอบธรรม.(2563).ประมวลศัพท์เรื่องความเท่าเทียมทางเพศ.(สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการแปลและการล่าม สาขาวิชาการแปลและการล่าม,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

สมเกียรติ วันทะนะ.(2553).ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ.กรุงเทพฯ:สมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์