การศึกษาผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงของหุ้นสามัญของการลงทุนในหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมาตรวัด Jensen's Alpha

ผู้แต่ง

  • บดินทร์เดช แก้วสีเคน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นารี ผากา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • มัลลิกา สีหาไชย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • รัตนากร ผุดผ่อง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นัชชา โยธานัก คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กุลนาถ ภูธรโคตร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กิตติมา งามวิไลกร คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ตติยาภรณ์ ศิริศักดากุล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ปรัชญา งามจันทร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

มาตรวัด Jensen's Alpha, ผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยง, ตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงของหุ้นสามัญของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand, SET) และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment, mai) ผ่านมาตรวัด Jensen’s alpha โดยใช้ข้อมูลรายเดือนระหว่าง พ.ศ. 2557–2561จำนวน 525 บริษัท แบ่งเป็น SET 450 บริษัท และ mai 75 บริษัท ผลการศึกษาพบว่า Jensen’s alpha ของตลาด SET และตลาด mai โดยรวมไม่ต่างจากศูนย์ หมายความว่าไม่สามารถสร้างผลตอบแทนส่วนเกิน (excess return) หรือ เอาชนะตลาดได้ (beat the market) แต่เมื่อศึกษาแยกหมวดธุรกิจ (sector) พบว่ามี 5 หมวดธุรกิจของ SET ที่สามารถสร้างผลตอบแทนส่วนเกินได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ กลุ่มธุรกิจกระดาษและวัสดุการพิมพ์สามารถสร้างผลตอบแทนส่วนเกินได้ที่ 3.36%, พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 0.73%, การแพทย์ 0.6%, พาณิชย์ 0.58%,และ พลังงานและสาธารณูปโภค 0.43% แต่มี 2 กลุ่มธุรกิจที่มีผลตอบแทนต่ำกว่าผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญคือ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่ -1.39% และสื่อและสิ่งพิมพ์ -0.83% สำหรับตลาด mai มีหนึ่งอุตสาหกรรมที่มีค่า alpha เป็นบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 1.68% คืออุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง สรุปแม้ว่าการที่จะเอาชนะตลาดโดยรวมเป็นไปได้ยาก แต่ยังมีโอกาสทำได้ในบางกลุ่มธุรกิจ

References

จิราพร ศาลาแดง. (2557). การเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนส่วนเกินและความเสี่ยงของหุ้นเชิงรุกและหุ้นเชิงรับในดัชนี SET 50 ตามระยะเวลาการลงทุนที่แตกต่างกัน. สืบค้นจาก http://department.utcc.ac.th/library/onlinethesis/259309.pdf?fbclid=IwAR3YeHuZlEHO_3dcLCaHH8i_wNwvz7P

h9gjnAMN2-fsBdW60W_BZtzKzylM

ณิชนันทน์ ทิพย์พาณิชย์. (2553). การศึกษาผลตอบแทนกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศไทยผ่านมาตรวัด Jensen’s Alpha (พ.ศ. 2545-2552). สืบค้นจาก http://digi.library.tu.ac.th/thesis/ac/0956/title-biography.pdf?fbclid=IwAR33wVjM4xtVVqJlKazAhPVTsBFzBLzJfcwm5Xun5tezhBc1pb4W1wPn06k

บุญญฉัตร บุญญาลัย. (2559). ผลตอบแทนการลงทุนของหุ้นสามัญตามผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการกรณีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5802112689_5727_4394.pdf?fbclid=IwAR3o--0eoX4ZJQZ01w9N79I6a43UplDm23J-UD4vvaOViBe8BB8dW9lNAUQ.

พิศาล วรฐิติชัยรักษ์. (2554). ผลตอบแทนพอร์ตการลงทุนในหุ้นสามัญด้วยวิธีการลงทุน แบบเน้นคุณค่าในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/958/1/pisal_wora.pdf.

แวววัน ปรางค์ธวัช. (2545). การจัดการกำไรและผลตอบแทนของการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน: การศึกษาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/958/1/pisal_wora.pdf.

จารุพร เรืองกาญจนวิทย์. (2549). คุณภาพกำไรก่อนและหลังการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/13217/1/jaruporn.pdf.

รวี ลงกานี, อริยพงษ์ พันธ์ศรีวงค์, และเกรียงไกร ก้อนคํา. (2560). ผลการลงทุนของหุ้นคุณค่าในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก

https://www.tcithaijo.org/index.php/CBSReview/article/view/84961/67686.

อลิษา มกราพันธุ์. (2554). การศึกษาผลตอบแทนในกลุ่มหลักทรัพย์คุณค่า และหลักทรัพย์เติบโตในตลาดหุ้นไทย พ.ศ.2543–2553. สืบค้นจาก http://digi.library.tu.ac.th/thesis/ac/1105/title-appendix-a.pdf?fbclid=IwAR3fY5a5tNHenz6tmIi2S60T02WBidlkRQUngCmvsAtd0oSez2N3a5LfLw.

Jensen, M. C. (1968). The performance of mutual funds in the period 1945–1964. The Journal of finance, 23(2), 389-416.

Lintner, J. (1975). The valuation of risk assets and the selection of risky investments in stock portfolios and capital budgets. In Stochastic optimization models in finance (pp. 131-155). Academic Press.

Treynor, Jack L. (1962). Toward a Theory of Market Value of Risky Assets. Unpublished manuscript. A final version was published in 1999. Asset Pricing and Portfolio Performance: Models, Strategy and Performance Metrics. Robert A. Korajczyk (editor) London: Risk Books.

Sharpe, William F. (1964). Capital asset prices: A theory of market equilibrium under conditions of risk. Journal of Finance, 19(3), 425–442.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-31

How to Cite

แก้วสีเคน บ., ผากา น., สีหาไชย ม., ผุดผ่อง ร., โยธานัก . น., ภูธรโคตร ก., งามวิไลกร ก., ศิริศักดากุล ต., & งามจันทร์ ป. (2019). การศึกษาผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงของหุ้นสามัญของการลงทุนในหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมาตรวัด Jensen’s Alpha. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 6(2), 41–61. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/jlams/article/view/55