กลวิธีการแปลคาศัพท์ทางสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และโบราณวัตถุ ในอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยเป็นภาษาจีน

Main Article Content

ณัฐวุฒิ สุขประสงค์

บทคัดย่อ

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการแปลคำศัพท์ทางสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และโบราณวัตถุ ในข้อมูลอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย จากภาษาไทยเป็นภาษาจีน พบว่า คำดังกล่าวจำนวน 58 คำ จากนั้นนามาศึกษากลวิธีการแปลโดยพิจารณาตามกลวิธีการแปลคาศัพท์ที่ไม่สามารถหาคาในภาษาแปลมาเทียบเคียงได้ของ โมนา เบเคอร์ (1992) และกลวิธีการแปลภาษาต่างประเทศในภาษาจีนของ Yang (2007) มาเป็นกรอบแนวคิดทฤษฎีประกอบการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า มีการใช้กลวิธีการแปลทั้งสิ้น 3 กลวิธี ได้แก่ 1) การแปลความหมาย 2) การแปลทับศัพท์ร่วมกับการแปลความหมาย และ 3) การแปลโดยใช้คำที่มีความหมายกว้างกว่าคำในภาษาต้นฉบับ โดยทั่วไปผู้แปลสามารถใช้กลวิธีการแปลที่มีความเหมาะสมที่สามารถถ่ายทอดความหมายของคำได้อย่างชัดเจนหรือใกล้เคียงกับภาษาต้นฉบับ อย่างไรก็ตาม ยังมีคำอีกจำนวนหนึ่งที่ยังไม่สามารถระบุความหมายที่เฉพาะเจาะจงตามภาษาต้นฉบับได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ. (2553). หลักการแปลไทย-จีน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จีนสยาม.

กนกพร นุ่มทอง. (2554). ตำราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

ราชบัณฑิต. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2556. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2559). พจนานุกรมศิลปกรรมไทย. นนทบุรี: เมืองโบราณ.

ศิริศักดิ์ คุ้มรักษา. (2546). ปราสาทหินในถิ่นอีสาน. กรุงเทพฯ : แปลน รีดเดอร์ส.

สันติ เล็กสุขุม. (2561). ศิลปะสุโขทัย. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: เมืองโบราณ.

สุพรรณี ปิ่นมณี. (2552). การแปลขั้นสูง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพล ดาหริ์กุล. (25622562). ประวัติศาสตร์ศิลปะสุโขทัย. นนทบุรี เมืองโบราณ.

อรุณศักดิ์ กิ่งมณี. (2562). ตรีมูรติ อภิมหาเทพของฮินดู. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: เมืองโบราณ.

อรุณี ตันศิริ. (2549). วัฒนธรรมถิ่น วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.

Bagheridoust, E. 2017 Translation of Culture Specific Items: A Case Study of Persian Architecture

Terminology. International Journal of Applied Linguistics English Literature, 6(2): 46 55.

Baker, M. (1992). In Other Word: A Course Book on Translation. London: Routledge.

Fan, L. (2002). The Story of Words. Taizhong: Haodu.

Fan,Z. 1994 A Practical Coursebook on Translation. Beijing: Foreign Language Teaching and Research Press.

Jia,S. 2002 On the Cultural Adjustment of the Translations of the Chinese Tourist Material. Journal of Shanxi University: Philosophy Social Science, 25(4): 90-92.

Jie,C. and Anunsiriwat, P. 2015 Xiyou Ji Sai Io: An Investigation on Translation Strategies ofCultural Vocabulary. The Golden Teak Humanities and Social Science Journal, 21(2): 199 206.

Jeremy Munday. 2012 Introducing Translation Studies: Theories and Applications. 3 rd edition. Lon don: Routledge.

Kelly, D. (1998). The Translation of Texts from the Tourist Sector: Textual Conventions, Cultural Distance and Other Constraints. Trans: Revista de traductología, 2, 33-42.

Larson, M. (1998). Meaning-Based Translation: A Guide to Cross-Language Equivalence. London: University Press of America.

Newmark, P. (1988). Approaches to Translation. Hertfordshire: Prentice Hall.

Nida,E.A. 1964 Toward a Science of Translating. The Netherlands: Leiden, I.J.Brill.

Snell-Hornby, M. (1995). Translation Studies: An Integrated Approach. Philadelphia: John Benjamins Publishing Company.

Snell-Hornby, M. (1990). Linguistic transcoding or cultural transfer? A critique of translation theory n Germany. In: Bassnett, Susan and André Lefevere (eds.): Translation, history, and culture. London: Pinter, 79-86.

Terestyényi, E. 2011 Translating Culture specific Items in Tourism Brochures. Journal of Translation and Interpretation, 5(2): 13 22.

Xu, Y. ( A Comparative Study of English and Chinese Culture Translation. Journal of Heihe University, 7:165 167.

Yang, X. (2007). A study of Loan Words in Chinese. Shanghai: Shanghai Renmin.