การสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตทางการเกษตร: แนวทางสำหรับผู้ประกอบการรายย่อย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตทางการเกษตร แนวทางสำหรับผู้ประกอบการรายย่อยและศึกษากรณีศึกษาการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตทางการเกษตรโดยผู้ประกอบการรายย่อยในอำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โดยทำการศึกษาจากกรณีศึกษาที่แตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่าการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลผลิตทางการเกษตรโดยผู้ประกอบการรายย่อย มีแนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มมากกว่า 10 แนวทาง โดยเบื้องต้นที่ทำการศึกษาคือ การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการผลิตนอกฤดูกาล, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการใช้พันธุ์ที่มีลักษณะเด่น, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการเปลี่ยนรูปร่างของผลผลิต, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการผลิตที่มีคุณภาพหรือมาตรฐาน, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการสร้างเรื่องราว (Story), การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรแบบพร้อมบริโภคและกึ่งสำเร็จรูป, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่หรือสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการออกแบบรรจุภัณฑ์และสร้างแบรนด์, การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการบริการขนส่งด่วน (delivery), การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการบริการพิเศษ, และการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการใช้กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) กล่าวคือ เกษตรกรสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ขึ้นอยู่กับองค์ความรู้, ความสามารถ, ทรัพยากรที่มีและศักยภาพของเกษตรกรเอง ดังเช่นจากการศึกษาจากกรณีศึกษาผู้ประกอบการรายย่อยในอำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น พบว่า จากการศึกษา 3 กรณีศึกษาที่มีกิจกรรมทางการเกษตรและผลผลิตทางการเกษตรที่แตกต่างกัน ดังนั้นวิธีการสร้างมูลค่าเพิ่มก็แตกต่างกันด้วยเช่นกัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Online) ฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นเฉพาะส่วนตัวของผู้เขียนและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และวารสารวิจัยและพันาอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง (Online) ไม่มีข้อผูกพันธ์ประการใดๆ อนึ่งกองบรรณาธิการวารสารยินดีรับพิจารณาบทความจากนักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้อ่าน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำลงตีพิมพ์ สำหรับบทความจะผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
References
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2563). คาอธิบายพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ,ศ, 2551. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.moac.go.th/law_agri-files-42289179 1101
กีรติกรณ์ อุดมฉวี. (2560). การประยุกต์ใช้เทคนิค HACCP เพื่อพัฒนาระบบการควบคุมกระบวนการ ในการผลิตอาหารแปรรูปจากแมลง The Application of HACCP Technique to Improve The Process of The Processed Food from Insects. ผลงานนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2559). ความรู้เบื้องต้น เรื่องสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก http://www.ipthailand.go.th/th/gi-012/item/ความรู้เบื้องต้น-สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์.html
กรมวิชาการเกษตร. (2562). ข้อกาหนดทั่วไปว่าด้วยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับรอง GAP พืช. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.doa.go.th/oard7/wp-content/uploads/ 2019/05/RE1.pdf
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2564). มาตรฐานคุณภาพสาหรับผลิตภัณฑ์เพื่อการยอมรับ. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://bsc.dip.go.th/th/category/quality-control/qs-qualitystand ards
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2565). แนวทางการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://bsc.dip.go.th/th/category/production2/qs-agriculturegoods.
ข้อมูลสารสนเทศการเกษตร. (2563). สรุปข้อมูลสถิติการเกษตรและสหกรณ์ที่สาคัญ. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.opsmoac.go.th/nakhonsithammarat-dwl-files-421191791137.
ชีวรรณ เจริญสุข. (2557). บทที่ 10 ผลิตภัณฑ์ใหม่ (NEW PRODUCT PLANNING) โดย ชีวรรณ เจริญสุข ,CHEEWAN CHAROENSOOK ,STUDENTS DOCTOR OF BUSINESS ADMINISTRATION (DBA) ค้น เมื่อ 10 เมษายน 2565, จาก https://maymayny.wordpress.com/2014/12/05บทที่-10-ผลิตภัณฑ์ใหม่-newpro
duct-planning/
ทะนุพงศ์ กุสุมา ณ อยุธยา. (2564). เลี้ยง-แปรรูป โคเนื้อคุณภาพ ที่ชุมแพ โดย “P.J. FARM”. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.technologychaoban.com/livestock-technology/article_101961.
ทวีศักดิ ธนเดโชพล, วิภพ ทีมสุวรรณ, และอุทัยวุฒิ ชานาญแก้ว. (2561). ปฏิรูปเกษตรในไทย(Agricultural Reform in Thailand). วารสาร 11th THAICID NATIONAL SYMPOSIUM.ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.rid.go.th/thaicid/_5_article/11symposi um/article-23.pdf.
พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (ม.ป.ป.). Good Manufacturing Practice / GMP.ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word /0352/good-manufacturing-practicegmp.
มนู โป้สมบูรณ์. (2558). การผลิตผลไม้นอกฤดูเพื่อเพิ่มศักยภาพการตลาด. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://esc.doae.go.th/wp-content/uploads/2018/11/fruit-out-of-season.pdf.
รัตนา ชาตรูประมัย. (2558). การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์. ค้นเมื่อ 16 เมษายน 2565, จาก http://www.atc.ac.th/ATCWeb/elearning/elearning/2558โลจิสติกส์/ปี%2058/วิชาการขนส่งในงานโลจิสสติกส์.pdf
วรฉัตร วริวรรณ และเบญจวรรณ บุญโทแสง. (2561). เกษตรกรอินทรีย์ภายใต้พื้นที่แห่งอานาจของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในสังคมสมัยใหม่. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร,14(1). 119-140.
สยามรัฐออนไลน์. (2564). หนุนเกษตรกรปลูกข้าวทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ข้าวทับทิมชุมแพ” สร้างรายได้มั่นคง. ค้นเมื่อ 16 เมษายน 2565, จาก https://siamrath.co.th/n/286948.
สุกานดา สารน้อยและแววรวี ลาภเกิน. (2563). ภูมิศาสตร์การตลาด กับอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ “ทุเรียนนนทบุรี”. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม , 16( 1). 28-43
สิรยา คงสมพงษ์. (2557). รายงานผลสรุปการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับการบริหารภาครัฐ หลักสูตร การสร้างมูลค่าจาก
ต้นน้าถึงปลายน้า. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก http://sesc.ocsc.go.th/filemanager/userfiles/uploads/Know57/OCSC_Value_Chain_28042014.pdf
โสมรัศมิ์ จันทรัตน์, วิษณุ อรรถวานิช, ภูมิสิทธิ์ มหาสุวีระชัย, และ จิรัฐ เจนพึ่งพร. (2562). ภูมิทัศน์ภาคเกษตรไทย จะพลิกโฉมอย่างไรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จากhttps://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_26Sep2019.pdf
สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มกอช. (2562). GAP พืช ข้อกาหนด 8 ประการ. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://warning.acfs.go.th/th/articles-and-research/view/?page=34
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2558). ยุทธศาสตร์การพัฒนาโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคการเกษตร พ.ศ. 2556-2559. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก http://planning.dld.go.th/th/images/stories/section5/2558/policy_02.pdf? fbclid=IwAR12AiXdBAxUJtqMLXwm01HXCPS1HTYONdpMtW2oOuvJ6Z_Xd-nTQ7KsGig
ณัฐหทัย สุทธิวงษ์. (2562). รายงานการเข้าร่วมโครงการเอพีโอ 18-AG-44-GE-WSP-B: Workshop on Value-added Agriculture. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จากhttps://www.ftpi.or. th/wpcontent/uploads/2021/07/WDB18AG44WSPValueAdd-NuthathaiS23Jan20.pdf?fbclid=IwAR3dXeKeaT9E_9l0-4AHoPa6dfcPCEm4sNUqVVooRm9bGVjfZJ cyRzM9hAE
สุภัทร คามุงคุณ. (2562). การเกษตรสร้างมูลค่าตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565, จาก https://library.parliament.go.th/sites/default/files/assets/files/works/academic%20office/radio%20scripts/pdf/2562-03/NALT radioscript-rr2562-mar2.pdf?fbclid=IwAR2Cz5G7Oh 1JPuHvomffqDp9W aPteueAZMxM-B1hGIaU26xG SctslCijJMY
AA GLORY. (2563). สินค้าพรีเมี่ยม หรือ Premium Product คืออะไร. ค้นเมื่อ 16 เมษายน 2565, จาก https://www.aaglory.com/what-premium-product/
Agricultural Marketing Resource Center (AgMRC). (2022). What is Value-added Agriculture. Retrieved April 11, 2022, from https://www.agmrc.org/business-development/valueadded-agriculture/what-isvalue-added-agriculture
David P. Anderson and Daniel Hanselka. ( n.d.) . Adding Value to Agricultural Products. Retrieved April 11,2022, from https://agrilifeextension.tamu.edu/library/marke ting-risk-management/adding-value-toagricultural-products/
Luo ming, Zhou GuoHua, Wei WeiCui. (2021). Study of the Game Model of E-Commerce Information Sharing in an Agricultural Product Supply Chain based on fuzzy big data and LSGDM. Online Journal of Technological Forecasting and Social Change. Retrieved January 25, 2 022, from https://www.sciencedirect.com /science/article/pii/S0040162521004492.
Maria Emilia Cucagna and Peter D. Goldsmith. ( 2018) . Value adding in the agri-food value chain. Online. Journal of International Food and Agribusiness Management Review. Retrieved January 25, 2022, from https://www.wageningenacademic. com/doi/abs/10.22434/IFAMR2017.0051
Melissa Matthewson. ( 2007) . EXPLORING VALUE-ADDED AGRICULTURE. Retrieved April 11, 2022, from https://smallfarms.oregonstate.edu/exploring-value-added-agriculture
Wikipedia. ( n.d.) . Food processing. Retrieved January 25, 2022, from https://isecosmetic.com/wiki/Food_processing#Notes_and_references