การบริโภคปัจจัย 4 ของคนไทยกลุ่มบริโภคนิยม
คำสำคัญ:
การบริโภค, ปัจจัย 4, กลุ่มบริโภคนิยมบทคัดย่อ
การบริโภคการใช้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งการกินการใช้สอยเครื่องมือ เสื้อผ้าที่เราสวมใส่ ยารักษาโรค พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติให้หมดไปให้ล่วงไป สิ่งต่างๆ ที่เราใช้หรือบริโภคนี้ก็คือการใช้ปัจจัยหรือการบริโภค 4 ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ถ้าหากว่าขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไปอาจทำให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ขาดสมดุลหรือประสบปัญหาได้ ซึ่งปัญหาเหล่านี้สามารถส่งผลได้ในระดับประเทศ
ปัจจุบันคนไทยมีลักษณะการบริโภคในรูปแบบของความสะดวกสบาย ซึ่งเป็นการบริโภคที่ไม่ได้คิดถึงผลกระทบที่จะตามมาในภายหลัง เป็นการบริโภคแบบการบริโภคนิยม ตามกระแสของสังคมซึ่งผู้ผลิตพยายามผลักดันให้เป็นไปตามความต้องการของตนเอง เพื่อเป็นการเพิ่มปริมาณการผลิตให้เพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันมีสิ่งต่างๆ ที่เป็นปัจจัยในการบริโภคเพิ่มมากขึ้น บางสิ่งบางอย่างก็ไม่ใช่สิ่งที่จำเป็น เพียงเพื่อเป็นไปแค่ตามกระแสของสังคมที่นับวันยิ่งเป็นความต้องการวัตถุภายนอกที่สิ้นเปลืองไปโดยใช่เหตุ ซึ่งไม่คิดถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทั้งกับตนเองและผู้อื่น
Downloads
References
ประพีร์พร อักษรศรี. (2540). ปัจจัยที่มีต่อพฤติกรรมการบริโภคตามหลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ: กรณีศึกษาสถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์. ภาคนิพนธ์พัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปรีชา บุญศรีตัน. พุทธจริยศาสตร์กับการกิน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.lanna.mbu.ac.th/panya/no_61/buddhist.asp. [12 มกราคม 2561].
พระเบื้อง ปั้นเหน่งเพชร. (2544). การบริโภคปัจจัย 4 ของพระภิกษุสงฆ์: ข้อพิจารณาทางจริยธรรม. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2543). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระไพศาล วิสาโล. วิถีพุทธในยุคบริโภคนิยม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.skyd.org/html/lifesocial/BudinConsume.html [1 มีนาคม 2561].
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระราชสีมาภรณ์ (โอภาส นิรุตติเมธี). (2536). พระสงฆ์กับการพัฒนาศาสนาสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชสีมาภรณ์ (โอภาส นิรุตติเมธี). (2557). พระสงฆ์กับงานพัฒนาพระพุทธศาสนาและสังคม. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พุทธทาส ภิกขุ. (2539). กามารมณ์กับชีวิต. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สุขภาพใจ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
ศรัณยพงศ์ เที่ยงธรรม, ผศ. การวิจัยและการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.blueocean-thailand.com/th/team.php. [22 มกราคม 2561].
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2544). สังคมวัฒนธรรมปัจจุบันผันแปร. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช. (2534). ความสุขหาได้ไม่ยาก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวน พิมพ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศรีสุวรรณภูมิปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.