การรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยทักษิณ
คำสำคัญ:
การรู้สารสนเทศ, นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ2) เปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ จำแนกตามเพศ คณะชั้นปี และประสบการณ์การเรียนรายวิชา/การฝึกอบรมเกี่ยวข้องกับการรู้สารสนเทศ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่ลงทะเบียนในปีการศึกษา 2561 จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากตารางของเครจซี่และมอร์แกน จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟและเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีการเชฟเฟ่ ผลการวิจัย พบว่า 1) นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ มีระดับการรู้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่อยู่ในระดับมากมีด้านเดียว คือ ด้านการกำหนดลักษณะและขอบเขตของสารสนเทศ และ 2) ผลการเปรียบเทียบการรู้สารสนเทศตามตัวแปรเพศและประสบการณ์การทำงาน พบว่า นิสิตเพศหญิงมีระดับการรู้สารสนเทศสูงกว่าเพศชายต่างกันมีระดับการรู้สารสนเทศไม่แตกต่างกัน โดยนิสิตที่มีประสบการณ์การทำงานมีระดับการรู้สารสนเทศสูงกว่านิสิตที่ไม่มีประสบการณ์การทำงาน ส่วนตัวแปรชั้นปีที่ศึกษา คณะ และประสบการณ์ในการเรียนหรือฝึกอบรมเกี่ยวกับรายวิชาสารสนเทศไม่พบความแตกต่าง
References
กระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
คำพรรณ สุขผล. (2555). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์). สืบค้นจาก http://www.archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2556/is40856ks_tpg.pdf
จารุณี สุปินะเจริญ, และนัดดาวดี นุ่มนาค. (2551). การรู้สารสนเทศของนิสิต ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วารสารมนุษยศาสตร์, 17(1), 20-32.
ชูชีพ มามาก. (2553). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. บรรณารักษศาสตร์มศว, 3, 1-9.
นิรมล ชอุ่ม. (2559). ทักษะการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม. จันทรเกษมสาร, 22(42), 71-81.
พงศ์ศักดิ์ สังขภิญโญ. (2541). ขอบเขตของการรู้สารสนเทศ. วารสารสำนักวิทยบริการ, 3(3), 23-27.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2543). เพื่อความเข้าใจในสาระและกระบวนการของการอุดมศึกษา: รวมบทความและบทบรรยาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มุจลินทร์ ผลกล้า. (2550). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง. (2533). สารนิเทศและสารสนเทศศาสตร์ ใน สารนิเทศศาสตร์เบื้องต้น หน่วย1-7. (น. 16-19). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รัชนีย์ ศรีศักดา. (2559). เอกสารประกอบการสอนสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า. สงขลา: สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
วุฒิพงษ์ บุไธสง. (2542). การรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย.
สมฤดี หัตถาพงษ์. (2547). การรู้สารสนเทศของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สาริณี อำมาตย์วงศ์. (2554). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์. (2540). แบบจำลองการรู้สารสนเทศ. บรรณศาสตร์, 12(2), 57-68.
สุพิศ บายคายคม. (2550). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
อังคณา แวซอเหาะ, และสุธาทิพย์ เกียรติวานิช. (2553). การรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร.
Association of College and Research Library. (2000). Information literacy competency standard for higher education. Retrieved November 25, 2016, from http://www.ala.org/ala-acrl/acrlstanards/guidelinesdistancelearning.htm
Black, S. (2000). Results of assessment of information literacy at the College of Saint Rose. Retrieved November 25, 2016, from http://www.strose.edu/Library/bi/infolitres.htm#discussion
Brown, C.M., & Krumholz, L.R. (2002). Integrating information literacy into the science curriculum. College & Research Libraries, 63(2), 111-123.
Caravello, P. S., Herschman, J., & Mitchell, E. (2001). Assessing the information literacy of undergraduates : Report from the UCLA library’s information Competencies survey project. Retrieved March, 16, 2017, from http://www.library.ucla.edu/infocompetence/info_comp_reportt01
Michalak, R., Rysavy, Monica D. T., & Wessel, A. (2017). Students' perceptions of their information literacy skills : The confidence gap between male and female international graduate students. The Journal of Academic Librarianship, 43(2), 100-104.
Rehman, S.U., & Mohammad, G.P. (2002). Relationship of library skills with selected personal and academic variables : A study of the undergraduate students of Kuwait University. International Information & Library Review, 34, 1-20.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.