อิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนนายร้อยตำรวจของนักเรียนนายร้อยตำรวจ
คำสำคัญ:
การใช้บริการห้องสมุด, โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, นักเรียนนายร้อยตำรวจบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของตัวแปรคุณลักษณะพื้นฐานบุคคล ความทันสมัย สิ่งอำนวยความสะดวก การให้บริการของเจ้าหน้าที่ และการใช้บริการห้องสมุดของนักเรียนนายร้อยตำรวจ และ 2) อิทธิพลของคุณลักษณะพื้นฐานบุคคล ความทันสมัย สิ่งอำนวยความสะดวก การให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่มีต่อการใช้บริการห้องสมุดของนักเรียนนายร้อยตำรวจ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยทั้งแนวทางเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม จำนวน 120 ราย ใช้สถิติพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกต และการบันทึกสนามกับนักเรียนนายร้อยตำรวจ จำนวน 8 ราย ผลการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 พบว่า นักเรียนนายร้อยตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีผลการเรียนในระดับ 3.00–3.49 ส่วนใหญ่ใช้บริการห้องสมุดบางครั้งและมีความพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ประจำห้องสมุด ในภาพรวมเรื่องทันสมัย พบว่า ห้องสมุดมีความทันสมัยระดับปานกลาง และเรื่องของสิ่งอำนวยความสะดวกพบว่าห้องสมุดมีความพร้อมในระดับดี ส่วนผลการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 พบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่มีอิทธิพลทางตรงมากที่สุด ส่วนคุณลักษณะพื้นฐานบุคคลมีอิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลผลรวมสูงที่สุดต่อการใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนนายร้อยตำรวจของนักเรียนนายร้อยตำรวจ
References
นพดล อินทร์จันทร์, ปิยวดี มากพา, และกานต์รวี ชมเชย. (2554). การศึกษาการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศโรงเรียนนายร้อยตำรวจเรื่องการแบ่งส่วนราชการเป็น คณะ สถาบัน ศูนย์ หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นในโรงเรียนนายร้อยตำรวจ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2559, (2559, 2 กุมภาพันธ์). เล่มที่ 133 ตอนที่ 30ง พิเศษ,หน้า 26-27.
ศูนย์การศึกษาจังหวัดพิษณุโลก. (2555). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของห้องสมุดวิทยาลัยทองสุข ศูนย์การศึกษาจังหวัดพิษณุโลก. สืบค้น 14พฤษภาคม 2560, จาก http://www.thongsook.ac.th/main/admin/uploaded/PhitsanulokCenter/2555-2/2.5-08.pdf
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2558). การสร้างมาตรวัดสำหรับการวิจัยที่ถูกต้องและได้มาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, และกรรณิการ์ สุขเกษม. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ: การวิจัยปัญหาปัจจุบันและการวิจัยอนาคตกาล (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามลดา.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักนโยบายและวิชาการสถิติ. (ม.ป.ป.). เทคนิคการสุ่มตัวอย่างและการประมาณค่า. สืบค้น 11 พฤษภาคม 2560, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/Toneminute/files/55/A3-16.Pdf
ห้องสมุดโรงเรียนนายร้อยตำรวจ. (2559). การจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารนิเทศ. สืบค้น 12 พฤษภาคม2560, จาก http://lib.rpca.ac.th/ss/index.php/aboutme/section
Arthur, W., Day, E.A., McNelly, T.L., & Edens, P. S. (2006). A metaanalysis of the criterion-related validity of assessment center dimensions. Personnel Psychology, 56, 125-154.
Besnoy, K.D., Dantzler, J., Besnoy, L.R., & Byrme, C. (2016). Using exploratory and confirmatory factor analysis to measure construct validity of the traits, aptitudes, and behaviors scale (TABS). Journal for the Education of the Gifted, 39(1), 3-22.
Bonnycastle, M.M. (2016). Engaging with qualitative data analysis: The metaphor of looking at data landscape to explored. Qualitative Report, 20(1), 84-86.
Caspar, R. (2016). Cross-Cultural Survey Guideline: Pretesting. Retrieved May 13, 2017, from http://www.ccsg.isr.umich.edu/images%5pdfs_PRetesting.pdf
Creswell, J. (2014). Research design: qualitative, quantitative and mixed methods approaches (4th ed). Retrieved May 15, 2017, from https://www.Amazon.com/Research-Design-QualitativeQuantitative-Approaches/dp/145222
Engellant, K.A., Holland, D.D., & Piper, R.T. (2016). Assessing convergent and discriminant validity of the motivation construct for the technology integration education (TIE) model. Journal of Higher Education Theory and Practice, 16(1), 37-50.
Friese, S. (2013). Qualitative research methods: why, when, and how to conduct interviews and focus groups in pharmacy research. Qualitative Research, 13(3), 382-384.
Fusch, P.I., & Ness, L.R. (2015). Are we there yet? Data saturation in qualitative research. The Qualitative Report, 20(9), 1408-1416.
Lafave, L., Tyminski, S., Riege, T., Hoy, D., & Dexter, B. (2015). Content validity for a child care self-assessment tool: Creating healthy eating environments scale. Canadian Journal of Dietetic Practice and Research, 77(2), 89-92.
Moses, C.V., Olaleke, O., Oluwafunmilayo, A.M., Gbenga, A.M., Olokundun, M., & Deborah, A. (2016). Perceived service quality and user satisfaction in library environment. Asian journal of Information Technology, 15(1), 18-25.
Palinkas, L.A., Horwitz, S.M., Green, C.A., Wisdom, J.P., Duan, N., & Hoagwood, K. (2015). Purposeful sampling for qualitative data collection and analysis in mixed method implementation research. Adm Policy Ment Health, 42(5), 533–544.
Rapchak, M.E. (2017). Creating a community of inquiry in online library instruction. Journal of Library & Information Services in Distance Learning, 11(2), 59-67.
Resch, J., Driscoll, A., McCaffrey, N., Brown, C., Ferrara, M.S., & Macciocchi, S. (2013). ImPact test-retest reliability: Reliably unreliable?. Journal of Athletic Training, 48(4), 506-511.
Rosa, K. (2016). The State of America’s Libraries. A report from the American library Association 2016. Retrieved May 14, 2017, from http://www.ala.org/news/sites/ala.org.news/files/content/state-of-americas-libraries-2016-final.pdf
Sato, T., & Ikeda, N. (2015). Test-taker perception of what test items measure: A potential impact of face validity on student learning. Language Testing in Asia, 5(10), 1-16.
Solis, E., & Perkins, D. (2016). Globetrotting students and faculty: Adapting library instruction to global sites. Journal of Library & Information Services in Distance Learning, 10(1), 123-139.
Terasvirta, T., & Yang, Y. (2015). Linearity and misspecification tests for vector smooth transition regression models. Retrieved May 11, 2017, from http://econ.au.dk/creates/rp/14/rp14_04.pdf
Vatcheva, K.P., Minjae, L., McCormick, J.B., & Rahbar, M.H. (2016). Multicollinearity in Regression analyses conducted in epidemiologic studies. Epidemiology (Sunnyvale), 6(2), 227-243.