แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์

ผู้แต่ง

  • สุรพงษ์ กล่ำบุตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 73000
  • มาเรียม นิลพันธุ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 73000
  • ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม 73000

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน, ความสามารถด้านการเขียนภาษาไทย, การเขียนเชิงสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การเขียนวิชาภาษาไทยที่ส่งเสริมความสามารถด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานที่สังเคราะห์จาก ร็อด เอลลิส (Rod Ellis) และเดวิด วิลลิส กับเจน วิลลิส (David Willis and Jane Willis) ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะด้านภาษาผ่านภาระงานที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของตนเองโดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกและชี้แนะด้านการใช้ภาษา บทความนี้นำเสนอความหมายและประเภทของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน ความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน ประโยชน์ของการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงาน และแนวทาง/ตัวอย่างจัดการเรียนรู้ โดยเน้นภาระงานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ และข้อควรคำนึงสำหรับการจัดการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานอันจะนำไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ต่อไป

References

ณุรัตน์ แย้มฉาย. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเพื่อพัฒนาความสามารถการพูดนำเสนอภาษาอังกฤษ สำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปุณยวีร์ แสงมนตรี. (2558). การพัฒนาบทเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้กลวิธีการคิดจากภาพเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพูดและการเขียนภาษาอังกฤษเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วรางคณา ศรีบุญเพ็ง, พนิดา จารย์อุปการะ, และราตรี แจ่มนิยม. (2565). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทยแบบเน้นภาระงานร่วมกับแผนที่ความคิดด้วยเทคนิคการโค้ชเพื่อส่งเสริมความสามารถการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 20(1), 467-488. สืบค้น 25 ธันวาคม 2566, จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/2 50193

วีระพล บดีรัฐ. (2543). PDCA วงจรแห่งความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ประชาชน.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2559). ก้าวข้ามขีดจำกัดสู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุรพงษ์ กล่ำบุตร, อภิรักษ์ อนะมาน, และสุวรรณี ยหะกร. (2565). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นภาระงานที่มีต่อความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์และความใฝ่เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารครุพิบูล, 9(2), 163-180. สืบค้น 25 ธันวาคม 2566, จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsru/article/view/255029

Ellis, R. (2003). Task-based language learning and teaching. Oxford University Press.

Lee, J. (2000). Tasks and communicating in language classrooms. Boston: McGraw Hill.

Rodríguez-Bonces, M. & Rodríguez-Bonces, J. (2010). Task-based language learning: Old approach, new style. A new lesson to learn. Universidad Nacional de Colombia.

Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. Cambridge University Press.

Willis, D., & Willis, J. (2007). Doing task-based learning. China: Oxford University Press.

Willis, J. (1996). A framework for task-based learning. Harlow: Longman Pearson Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-31

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ