พระองค์แสนบ้านพิมาน : ประวัติศาสตร์ พุทธศิลป์ และความเชื่อพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์

Main Article Content

อธิราชย์ นันขันตี

บทคัดย่อ

          พระองค์แสนเป็นพระพุทธรูปโบราณทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง สร้างโดยพระมหาราชครูคัมภีรปัญญา เมื่อ พ.ศ. 2388 เป็นที่เคารพสัการะบูชาของพุทธศาสนิกชนชาวบ้านพิมาน และชาวบ้านใกล้เคียงมาโดยตลอด สะท้อนให้เห็น ความเชื่อศรัทธาที่ถูกปลูกฝังและถ่ายทอดจากบรรพบุรุษมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและโบราณวัตถุที่เป็นประโยชน์ทางประวัติศาสตร์ พุทธศิลป์ที่คู่ควรแก่การศึกษาอนุรักษ์และพัฒนาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่เกิดจากการศึกษาสามารถนำไปต่อยอดขยายผลและบูรณาการอันนำไปสู่การจัดการท่องเที่ยวบุญประเพณีต่อการอบรมจริยธรรม และการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรรณิกา คาดี. (2558). “วัดและศาสนสถานในมิติการท่องเที่ยว” ใน วารสารบัณฑิตมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.ขอนแก่น 4(2). 175-191.

จังหวัดสกลนคร. (2559). พระพุทธองค์แสนสตสหัสสสปฏิมานุสรณ์. สกลนคร : จังหวัดสกลนคร.

เติม วิภาคย์พจนกิจ.(2542). ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ธวัช ปุณโณทก.(2530). จารึกสมัยไทย-ลาว. กรุงเทพฯ : อักษรกิจ.

ประทีป พืชทองหลาง. (2558). “เส้นทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาประเภทเจดีย์และพระพุทธรูปสาคัญในจังหวัดเชียงใหม่” ในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทอร์น. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2-4. หน้า 111-123.

ประวัติบ้านพิมาน. (มปป.) (เอกสารอัดสาเนา)

ทศพล อาจหาญ.(2542). ข้าโอกาสพระธาตุพนม อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ธวัช ปุณโณทก.(2530). จารึกสมัยไทย-ลาว. กรุงเทพฯ : อักษรกิจ.

นิกร พ่อเพียโคตร. (สัมภาษณ์). อธิราชย์ นันขันตี. (ผู้สัมภาษณ์). (16 กุมภาพันธุ์ 2562).

นูน วงศ์ตาทา. (สัมภาษณ์). อธิราชย์ นันขันตี. (ผู้สัมภาษณ์). (16 กุมภาพันธุ์ 2562).

ประวิทย์ คาพรม. (2546). ประวัติอาเภอธาตุพนม. นครพนม : องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม.

พระครูสุวรรณนพคุณ. (สัมภาษณ์). อธิราชย์ นันขันตี. (ผู้สัมภาษณ์). (2 กุมภาพันธุ์ 2562).

พงษ์ศักดิ์ ชาเครือ. (สัมภาษณ์). อธิราชย์ นันขันตี. (ผู้สัมภาษณ์). (25 เมษายน 2562).

สรวงสุดา วงศ์ตาผา. (สัมภาษณ์). อธิราชย์ นันขันตี. (ผู้สัมภาษณ์). (25 เมษายน 2562).

สุรจิตต์ จันทรสาขา. (2543). เมืองมุกดาหาร. มปท., 48-49.

สุรัตน์ วรางค์รัตน์. (2539).กะเลิงบ้านบัว . ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.