การเป็นผู้ประกอบการเกษตร: อาชีพที่ท้าทายของคนรุ่นใหม่ X, Y และ Z Generations
Main Article Content
บทคัดย่อ
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการลดลงของจำนวนเกษตรกร และเกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้สูงอายุที่
กำลังจะหยุดทำการเกษตร ในขณะที่คนรุ่นใหม่ที่ให้ความสนใจในการประกอบการเกษตรน้อยลง บทความนี้มุ่งศึกษาแนวคิด
ด้านการสร้างผู้ประกอบการเกษตร ความท้าทายในการประกอบการเกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคนรุ่นใหม่ ทำการศึกษา
สถานการณ์เบื้องต้นที่เกี่ยวกับการประกอบการเกษตรของคนรุ่นใหม่ในบริบทของนานาประเทศ รวมถึงประเทศไทย และ
สถานการณ์การส่งเสริมและการพัฒนาคนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้ประกอบการเกษตร นำเสนอผลการสังเคราะห์ในลักษณะเป็น
ประเด็นการวิจัย
การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่มีปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นผู้ประการเกษตรของประเทศไทย สรุปได้ 5
ด้าน ได้แก่ 1) ด้านปัจจัยภายในบุคคล ประกอบไปด้วย อายุซึ่งเกี่ยวข้องกับกำลังแรงกายในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเกษตร
2) ด้านครอบครัว ประกอบไปด้วย ความกตัญญูต่อบุพการีและการสมรสกับคู่ครองส่งผลต่อคนรุ่นใหม่ในแง่ของความจำเป็นใน
การดูแลและรักษาความรักความอบอุ่นในครอบครัว การมีที่ดินทำกินและความมั่นคงของรายได้ในการประกอบอาชีพใดอาชีพ
หนึ่ง 3) ด้านสังคม ประกอบไปด้วย การได้รับการยอมรับจากคนรอบข้าง ส่งผลต่อความรู้สึกของคนรุ่นใหม่และการมีแรงงาน
4) ด้านทรัพยากรการเกษตร ประกอบไปด้วย ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ส่งผลต่อลักษณะการประกอบอาชีพ และ 5) ด้าน
เศรษฐกิจ คนรุ่นใหม่ผู้ที่ความสามารถในการการเข้าถึงเงินทุน ที่ดินและแหล่งน้ำ มีแนวโน้มที่จะตัดสินใจเข้ามาท าการ
เกษตรกรรมได้มากกว่าคนที่ไม่สามารถเข้าถึงเงินทุน ที่ดินและแหล่งน้ำ
ความท้าทายในการเป็นผู้ประกอบการเกษตรคนรุ่นใหม่ (X Y Z Generations) ได้แก่ 1) การมีทัศนคติในเชิงลบ
ในการประกอบการเกษตรเนื่องจากการติดกับภาพลักเดิมของการทำการเกษตรที่มีความยากลำบากและได้รับรายได้น้อย
รวมถึงครอบครัวมักจะไม่ให้การยอมรับหรือสนับสนุน 2) การไม่สามารถเข้าถึงต้นทุนการผลิต การเริ่มต้นที่จะประกอบการ
เกษตรต้องอาศัยการมีที่ดินทำกินและใช้เงินลงทุนสูงสำหรับ ซึ่งคนรุ่นใหม่ (Generations X ,Y และ Z) บางคนไม่มีแหล่ง
เงินทุน และไม่มีหลักทรัพย์ในการค้ำประกันเป็นของตนเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Online) ฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นเฉพาะส่วนตัวของผู้เขียนและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และวารสารวิจัยและพันาอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง (Online) ไม่มีข้อผูกพันธ์ประการใดๆ อนึ่งกองบรรณาธิการวารสารยินดีรับพิจารณาบทความจากนักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้อ่าน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำลงตีพิมพ์ สำหรับบทความจะผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
References
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2559. แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). (สืบค้น 8 เมษายน 2563) ที่มา: http://tarr.arda.or.th/static2/docs/development_plan2559.pdf
เกษศิรินทร์ พิบูลย์, Titouan Filloux, Marta Salvago, Nicolas Faysse ประภาส ปิ่นตบแต่ง, Thi Phuoc Lai Nguyen. 2562. คนรุ่นใหม่ ในชุมชนท้องถิ่น และนักศึกษาที่เรียนด้านการเกษตร: วิสัยทัศน์ด้านการเกษตร และแผนอนาคต. (สืบค้น 1 พฤษภาคม 2562) แหล่งที่มา: http://deltasoutheastasia-doubt.com/wpcontent/uploads/UploadedDocuments/WorkshopYoungFarmers/PresentationVisionOfYoungPeopleOfFarming-FinalWorkshopJan17_in%20Thai.pdf
ชาย โพธิสิตา. 2555. ชนบทไทยในวิถีทุนนิยม. วารสารราชบัณฑิตยสถาน 37 (4) 2-3.
ชนินทร์ แก้วคะตา และ ยศ บริสุทธิ์. 2558. เงื่อนไขฐานรากในการเข้าสู่อาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกรและบุตรหลานเกษตรกร. วารสารเกษตร 31(2): 215 – 224.
ชนินทร์ แก้วคะตาและ ยศ บริสุทธิ์. 2558. กลยุทธ์การปรับตัวคงอยู่ในอาชีพที่มีการเกษตรเป็นฐานของครัวเรือนเกษตรกร: การศึกษาทฤษฏีฐานราก. วารสารแก่นเกษตร 43 (3).
ณฐวัฒน์ ล่องทอง. 2557. การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 (เพื่อความสุข (ใจ) ในการทำงาน) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เดชา เดชะวัฒนไพศาล. 2551. การรับรู้คุณลักษณะของเจนเนอเรชั่นวายและแรงจูงใจในการท างาน: มุมมองระหว่างเจนเนอเรชั่นต่างๆในองค์กร. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 31(121) : 2-8.
ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร . 2563. สินเชื่อสานฝันเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer). (สื บ ค้ น เ มื่ อ 9 มี น า ค ม 2 5 6 3 ) ที่ ม า https://www.checkraka.com/price/personal- loan-1-216
ธนณัฐฐ์ รูปสม, สมชาย ชคตระการ และ นิภารัตน์ ศรีธเรศ. 2553. พัฒนาการด้านการเกษตรของประเทศญี่ปุ่น : ในมิติด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 หน้า 1-24.
นิยาม SME ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อม. 2563. (สืบค้น3 พฤษภาคม 2562) แหล่งที่มา: https://www.sme.go.th/th/cms-detail.php?modulekey=332&id=1334
บีบีซี นิวส์. 2019. ญี่ปุ่นปฏิวัติการเกษตร ปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินและเกษตรกร เพิ่มความมั่นคงทางอาหาร ฟาติมา คามาทา บีบี
ซี นิวส์ บราซิล โตเกียว (สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2563) แหล่งที่มา: https://www.bbc.com/thai/international-49963119
ยศ บริสุทธิ์. 2558 การศึกษาชุมชน:แนวคิดฐานการวิจัยและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศันสนีย์ กระจ่างโฉม. 2015. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับแรงจูงใจของทายาทเกษตรกรในการสานต่ออาชีพเกษตรในอำเภอสันป่าตองจังหวัดเชียงใหม่. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. (2554). รายงานประจาปี2553. (สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2563) ที่มา https://www.alro.go.th/alro_th/download/annual_report/annual53.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2560. ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย. เอกสารประกอบการประชุมประจ าปี 2560. ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2555. สำรวจสภาวะการทำงานของประชากรไตรมาตร 3 ปี 2533-2555. การสำรวจสภาวะการทำงานของประชากรทั่วราชอาณาจักรไตรมาสที่ 3. สำนักงานสถิติแห่งชาติ: กรุงเทพมหานคร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2556. ข้อมูลสำมะโนครัวเรือนเกษตร ปี 2536-2556. สำนักงานสถิติแห่งชาติ:กรุงเทพมหานคร
สำนักนโยบายและแผนสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. 2559. NEW GEN IS NOW คนรุ่นใหม่คือพลังแห่งอนาคต. (3 เมษยยน 2562) ที่มา : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/687/
สำนักงานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม. 2552. คลังความรู้และพันธมิตรของธุรกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม:
กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. 2561. สรุปผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561
สินชัย เรืองไพบูลย์. 2555. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของเกษตรกรวัยหนุ่มสาวในการเลี้ยงโคนม. สำนักส่งเสริมและพัฒนาปศุสัตว์. (6 เมษยยน 2562) ที่มา :http://extension.dld.go.th/th1/images/stories/research/research2558/research5610511013.pdfReceived: 24 November 2014; Accepted:
March 2015
โสภัณฑ์ นุชนาถ. 2542. จิตวิทยาวัยรุ่น. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพมหานคร
อรนิภา สีขุ่นน้ำเที่ยง และชัยชาญ วงศ์สามัญ. 2560. แรงจูงใจในการประกอบอาชีพเกษตรในอนาคตของสมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่นในจังหวัดอุดรธานี วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร. (ม.ป.ป.). รายงานประจาปี2559. (สืบค้น เมื่อ 9 มีนาคม 2563) http://www.mof.or.th/view-files.php?file=annual2559.pdf
อรทัย วานิชดี. ธุรกิจทั่วไป. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร. 2545.
สุดาทิพย์ ตันตินิกุลชัย และศักดา หงส์ทอง. ธุรกิจทั่วไป. กรุงเทพฯ : บริษัท ส านักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด, 2547. http://lpn.nfe.go.th/e_learning/LESSON1/unit1_6.htm Asian Farmers Association for Sustainable Rural Development. (2015). A Viable Future: Attracting the
Youth Back to Agriculture. (cited 6 February 2019) from: http://asianfarmers.org/wp-content/uploads/2014/12/Attracting-Youth-in-Agriculture-in-Asia_Scoping-Rev-08242015.docx
Attavanich, W., Chantarat, S., B., Chenphuengpawn and J. Sa-ngimnet. 2019. Microscopic view of Thailand’s agriculture through the lens of farmer registration and census data. Forthcoming PIER Discussion Paper.
Biriwasha, I. 2012. Agriculture and the school curriculum in Zimbabwe. Paper presented at “Farming and Foods: The future of the agri-food sector in Africa, Accra, 19 - 21 March 2012.
Christopher Brown, and Mark Thornton. 2013. How Entrepreneurship Theory Created Economics. Vol. 16 |
No. 4 | 401–420 Winter 2013.
Eurostat Newsrelease. 2018. Farm structure survey 2016: Of the 10.3 million farms in the EU, two thirds
are less than 5 ha in size; only 11% of farm managers are under 40 years old. Article No.
/2018 – 20 June 2018.
Faysse, N. (2560). นโยบายการสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่: การทบทวนงานศึกษาในระดับนานาชาติและครั้งแรกจาก
มุมมองของประเทศไทย. (สืบค้นเมื่อ 20เมษายน 2020) ที่มา :
file:///D:/Users/parliament/Downloads/LitReviewPublicPoliciesSupportYoungFarmers-
ThaiLanguageFaysse2018%20(3).pdf
Frese, M. 2000. Management. (5 th ed.). USA John Wiley& Son. Gellynck, X., Cárdenas, J., Pieniak, Z.,
Verbeke, W., 2015. Association between innovative
entrepreneurial orientation, absorptive capacity and farm business performance.
Agribusiness 31 (1), 91–106. (cited 10 February 2019) from: https://doi.org/10.1002/agr.21394.
Hamilton, W., Bsworth, G. and E. Ruto. 2016. Entrepreneurial younger farmers and the “young farmers
problem” in England.
Innovative Startup โครงการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมรายใหม่ มศก. 2017. สตาร์ทอัพ คืออะไร (สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2563)
ที่มา: http://www.startup.su.ac.th/?p=84
Izumi, M. 2018. Supporting new entrants into farming in Japan. FFTC Agricultural Policy Articles.
Agricultural Human Resources Development. Edited and uploaded on 18 December 2018.
Jose Ramon Rodriguez 2016. CREATIVE DESTRUCTION: A CONCEPT TO BEAR IN MIND ON
ENTREPRENEURSHIP AND INNOVATION (cited 12 February 2020)
from:https://designthinking.gal/en/creative-destruction-a-concept-to-bear-in-mind-on-
entrepreneurship-and-innovation/
Kahan, D. 2012. Entrepreneurship in farming. Farm management extension guide. Food and Agriculture
Organization of the United Nations, Rome 2012.
Krungsri Guru Startup และ SME สองอย่างนี้ต่างกันอย่างไร (cited 12 February 2020) from: https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/the-differences-between-startup-and-sme.html
Mapila, M. and A.T.J. Mapila. 2014. Agricultural policy processes and the youth in Malawi. IFPRI Discussion Paper 01335, March 2014.
Mari Lzumi. 2017. Supporting New Entrants into farming in Japan. Visiting researcher Japan Co-operative alliance (cited 12 February 2019) from: http://ap.fftc.agnet.org/ag db.php ? id = 951.
McElwee, G. Boswirth. 2010. Expoloring the strategic skills of famers Across a typology of farm diversification approaches. Journal of farm management 13 (12): 819-838.
McElwee, G. 2008. A taxonomy of entrepreneurial farmers. International Journal Entrepreneurial Small Business, 6:465-478.
McElwee, G. and A. Atberton. 2005. Publication trends and patterns to entrepreneurship: The case of the international journal of entrepreneurship and innovation. J. Small Bus. Enterprise Dev. 12(1):92-103.
Migliore, G. Schifani, G., Romeo, P., Hashem, S. and L. Cembalo. 2015. Are Farmers in Alternative Food Networks Social Entrepreneurs? Evidence from a Behavioral Approach. Journal of Agricultural and Environmental Ethics, 28, pages885–902(2015).
Moneyhub. 2016. ธุรกิจ Start UP คืออะไรท าไมถึงมาแรงในยุคนี้ (สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2563) ที่มา : https://moneyhub.in.th/article/what-exactly-is-a-startup/Morell, D. and Samudavanij , Chai-anan. 1981. Political Conflict in Thailand. Oelgeschlager & Hain, Publisher Inc. : Cambridge,Massachsetts. Nhamo, N., and D. Chikoye. 2017 Supporting the Engagement of the youth in smart agricultural enterprises
smart technologies for Sustainable smallholder. Agricultural. Lusaka : Academic press.
Nnadi, F.N., Akwiwu. 2008. Determinants of youths participation in rural agriculture in LMO state, Nigeris.Journal of Applied sciences 8:328-333.
Peerpower 2019 SME คือ อะไรทำไมผู้ประกอบการต้องรู้ (สืบค้นเมื่อ 20กุมภาพันธ์ 2020) ที่มา : https://www.peerpower.co.th/blog/%E0%B8%9C%E0%B
Pelzom Tshering. 2017. Youth Perception of agriculture and potential in the context of rural development in Bhutan. Development Environment and foresinght, 2017 Vol.3, No2,92- 107 ISSN:2336-6621.
Pindado, E., Sánchez, M. 2017. Researching the entrepreneurial behaviour of new and existing ventures in European agriculture. Small Bus. Econ. 49 (2), 421–444. https://doi.org/10.1007/s11187-017-9837-y.
Seuneke, P., Lans, T. and J.S.C. Wiskerke. 2013. Moving beyond entrepreneurial skills: Key factors driving entrepreneurial learning in multifunctional agriculture. Journal of Rural Studies, 32: 208-219.
Sharon Jean-Philippe, Jannifer Richarods, Kimberly Gwinn, and Caula Beyl. Urban Youth Perception of agriculture. Journal of youth development vol.12 ISSUE DOI 10.5195/jyd.2017.497.
Uchiyama, T. 2557. Recent Trends in Young People's Entry into Farming in Japan: An International Perspective. Enhanced Entry of Young Generation into Farming. Proceedings of the International
Seminar on Enhanced Entry of Young Generation into Farming. October 21 -23, pp. 1-16. Food and Fertilizer Technology Center, Jeonju, Korea.
Uchiyama, T., & Whitehead, I. 2012. Intergenerational farm business succession in Japan.
In Baker, J. R., Lobley, M., & Whitehead, I. (Eds.) Keeping it in the family: international perspectives on succession and retirement on family farms, pp. 55-73. Routledge, London.
Vander Plocq j-D. 2008. The new peasantries: Struggles for autonomy and sustainability in an Era of Empire and Globalization, London:
VOVworld. 2555. นักธุรกิจและสถานประกอบการกับหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคม (สืบค้นเมื่อ 1เมษายน 2020) ที่มา :ที่มา https://vovworld.vn/th
Wennekers, S., Thurik, R., 1999. Linking entrepreneurship and economic growth.
Small Bus. Econ. 13, 27–55. (cited 10 February 2020) form : https://doi.org/10.1023/A.
White, B. 2012. White Agriculture and the generation problem: Rural youth, employment and the future of farming. IDS bulletin Volume 43, November 2012.
William, H. W., Bsworth, G. and E. Ruto. 2015. Entrepreneurial younger farm,ers and the “young farmers problem” in England.
Williams, M. 2555. Contextualizing Youth Entrepreneurship: The Case of Botswana and the Young Farmers
Fund. MSc Thesis, University of Guelph. Ontario, Canada.
Wilson, G.A. 2008. From “weak” to “strong” multifunctionality: conceptualizing farm-level multifunctional transitional pathways. Journal of Business Venturing, 6:93-114.
Zhang, Y., Li, X. and W. Song. 2014. “Determinants of cropland dabandonment at the parcel, household and village levels in mountain areas of China: a multi-level analysis,” Land Use Policy, vol. 41,pp. 186–192, 2014.