พระธาตุศรีสองรักแห่งเมืองด่านซ้าย: ความหมายและการนิยามความหมายในบริบทการท่องเที่ยว
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายและการนิยามความหมายต่อพระธาตุศรีสองรัก อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ในบริบทการท่องเที่ยว วิธีการศึกษาใช้วิธีการศึกษาตามแนวพินิจทางประวัติศาสตร์ ข้อมูลที่ใช้ศึกษาได้จากการสัมภาษณ์ประชาชนในเมืองด่านซ้าย จังหวัดเลย ประกอบกับข้อมูลจากเอกสาร และนำเสนอในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์
การศึกษาพบว่า พระธาตุศรีสองรักสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างอาณาจักรอยุธยาและล้านช้าง ทำหน้าที่เป็นเหมือนเครื่องหมายแสดงขอบเขตพระราชอำนาจของอาณาจักรทั้งสอง อย่างไรก็ตามชาวบ้านได้แปรเปลี่ยนความหมายพระธาตุศรีสองรักให้กลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อและระบบคุณค่าของตน ขณะเดียวกันในปัจจุบันที่ทุกภาคส่วนเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของการท่องเที่ยว พร้อมกับมีความพยายามส่งเสริมกันอย่างเข้มข้น การท่องเที่ยวได้เปิดโอกาสให้คนด่านซ้ายได้แสดงออกซึ่งตัวตน และความแตกต่างทางวัฒนธรรม ผ่านการผลักดันพระธาตุศรีสองรักให้กลายเป็น“พื้นที่ท่องเที่ยว” ขึ้นมา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Online) ฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นเฉพาะส่วนตัวของผู้เขียนและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และวารสารวิจัยและพันาอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง (Online) ไม่มีข้อผูกพันธ์ประการใดๆ อนึ่งกองบรรณาธิการวารสารยินดีรับพิจารณาบทความจากนักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้อ่าน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำลงตีพิมพ์ สำหรับบทความจะผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
References
การศาสนา,กรม.(2535).ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่มที่11.กรุงเทพ: โรงพิมพ์การศาสนา.
คำฝูง เชื้อบุญมี. (2553.) สัมภาษณ์ วันที่ 7 พฤษภาคม. 2553
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. (2545). ตำนานพุทธเจดีย์.กรุงเทพฯ : มติชน.
ถาวร เชื้อบุญมี. (2553) สัมภาษณ์ วันที่ 2 พฤษภาคม. 2553
ไทยรัฐออนไลน์. (2558). ชาวบ้าน อ.ด่านซ้าย กว่า 500 คนแห่ค้าน ยก ‘พระธาตุศรีสองรัก’เป็นวัด.สืบค้นเมื่อวันที่
ธันวาคม 2564 จาก https://www.thairath. co.th/news/local/494740.
ณ ปากน้ำ. (2523). “สถูปเจดีย์ทางภาคอีสานของไทย” .วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ธันวาคม 2522-มกราคม 2523
บ้านเมืองออนไลน์. (2564). เรื่องใหญ่! สำนักพุทธฯฟ้องศาลทวงคืนพระธาตุศรีสองรัก ยันเป็นวัด.สืบค้นเมื่อ
วันที่ 8 ธันวาคม 2564 จาก https://www.banmuang.co.th/news/region/257310.
บุญมา เสริฐศรี. (2539). “ปาฐกถาเรื่องสภาพจังหวัดเลย”ปาฐกถาของผู้แทนราษฎรเรื่องสภาพของจังหวัดต่างๆ.
กรุงเทพฯ : สมาคมมิตรภาพญี่ปุ่น-ไทย.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ธุรกิจที่ไม่มีวันตายของประเทศไทย.กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์ ซี. พี.บุ๊คสแตนดาร์ด.
ประยุทธิ์ สิทธิพันธ์. (2503). เที่ยว71 จังหวัดรอบเมืองไทย.กรุงเทพฯ: กรุงธน.
ประสาร บุญประคอง.(2512). “คำอ่านศิลาจารึกอักษรไทยเหนือ ภาษาไทย มาจากวัดพระธาตุศรีสองรัก”.วารสาร
ศิลปากร. ปีที่ 13 เล่ม 1 พฤษภาคม.
ภักดี สืบนุการณ์ และคณะ. (2547). รายงานฉบับสมบูรณ์การการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม กรณีศึกษา
บ้านด่านซ้าย บ้านนาเวียง และนาหอ ลุ่มน้ำหมัน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย. โครงการอบรมและวิจัยเชิง
ปฏิบัติการทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและชาติพันธุ์ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
มหาดไทย,กระทรวง. (2525). ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดเลย.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.
รัตนา แสงสว่าง. (2553). ห้องสมุดผู้สูงอายุจังหวัดเลย.เลย: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม121 ตอนพิเศษ129ง วันที่ 18 พฤศจิกายน 2547.
ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่52 หน้า3698 วันที่8 กุมภาพันธ์ 2478.
ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่99 ตอนที่155 วันที่21 ตุลาคม 2525.เรื่องจังหวัดต่างๆในประเทศไทย เล่ม3. (2500).
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อุดม.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2546). ความหมายของพระบรมธาตุในอารยธรรมสยามประเทศ.กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์เมือง
โบราณ.
ศิลปากร,กรม. (2529). จารึกในประเทศไทยเล่ม5.กรุงเทพฯ: หอสมุดแห่งชาติกรมศิลปากร.
สนอง อุปลา, ร้อยตำรวจเอก. (2546).พัฒนาการประเพณีผีตาโขน อ าเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย.วิทยานิพนธ์ศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา สถาบันราชภัฏเลย.
สนอดกราส, เอเดรียน.(2541).สัญลักษณ์แห่งพระสถูป. กรุงเทพฯ:อัมรินทร์วิชาการ.
สัมฤทธิ์ สุภามา. (2544). บทบาทเจ้าพ่อกวนเจ้าแม่นางเทียมต่อชุมชน:กรณีอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย .วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษาเพื่อการพัฒนา สถาบันราชภัฏเลย.
สาร สาระทัศนานันท์. (2528). พระธาตุศรีสองรักและเมืองด่านซ้าย.เลย : ม.ป.พ.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเลย. (2547). พระธาตุศรีสองรักดินแดนแห่งสัจจะและไมตรี อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย.
เลย: สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเลย.
สีไพร,พระ. (2553) สัมภาษณ์ วันที่ 28 เมษายน.
อ าเภอด่านซ้าย.(2552).บรรยายสรุปด่านซ้าย.ด่านซ้าย: เอกสารอัดส าเนา.
แอมอนิเยและเอเจียน.(2539).บันทึกการเดินทางในลาว ภาคหนึ่ง พ.ศ.2438.เชียงใหม่: โครงการผลิต
เอกสารส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านสถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.