การพัฒนาระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนาระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด เรื่อง การพัฒนาระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2)เพื่อหาประสิทธิภาพของระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด นำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะเพื่อปรับปรุงให้ถูกต้อง จากนั้นไปนำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ และนอกจากนี้ผู้ศึกษาได้ใช้ทฤษฎีและหลักการออกแบบเพื่อให้มีความน่าสนใจและมีความตื่นเต้นสำหรับผู้ใช้นอกจากนี้ได้รับคำชี้แนะและให้คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจึงส่งผลให้ระบบสำเร็จสมบูรณ์ 2) คุณภาพระบบการสั่งจองชุดครุยมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ได้ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการประเมินโดยรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับ ผลรวมทั้งหมดของค่า x ̅ เท่ากับ 0.30 และผลรวมทั้งหมดของ ค่าเฉลี่ย ( S.D ) เท่ากับ 4.43 จากเกณฑ์การประเมินข้างต้น โดยเฉลี่ยทุกข้ออยู่ในระดับ “มาก” ต่อการใช้งาน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อเขียนหรือบทความใดๆ ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Online) ฉบับนี้ เป็นความคิดเห็นเฉพาะส่วนตัวของผู้เขียนและกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และวารสารวิจัยและพันาอนุภูมิภาค ลุ่มน้ำโขง (Online) ไม่มีข้อผูกพันธ์ประการใดๆ อนึ่งกองบรรณาธิการวารสารยินดีรับพิจารณาบทความจากนักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้อ่าน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำลงตีพิมพ์ สำหรับบทความจะผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
References
กิตติศักดิ์ หัสถีรักษ์. (2553). การพัฒนาระบบสารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2566 จาก
http://u53112802028.blogspot.com/2010/12/4-30112010.html.
กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และพนิดา พานิชกุล. (2551). การวิเคราะห์และการออกแบบระบบ. กรุงเทพ: เคทีพี.
พนิดา กดิ์ศรี และเยาวเรศ เสือกระจ่าง. (2550). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิชาการและ กิจการนักศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเจ้าพระยา จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มณีโชติ สมานไทย.(2546). การออกแบบฐานข้อมูลและภาษาSQL. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์จำกัด.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ = Management Information System : MIS. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น
อนุชา ชีช้าง และธีรวัฒน์ หังสพฤกษ์.(2555). การพัฒนาระบบการจัดการครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ด้วยรหัสแท่งสองมิติบนเครือข่ายอินทราเน็ตกรณีศึกษามหาวิทยาลัยทักษิณวิทยาเขตพัทลุง.วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 15(2),1-9.
อุษณีย์ เนาวนัต, นลินรัตน์ เมธีสหการ, นครทิพย์ พร้อมพูล, พิษณุ คนองชัยยศ และเศรษฐา ปานงาม. (2553). การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศโขน. วารสารวิศวกรรมศาสตร์, 2(2), 26-48.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.(2545). รายงานวิจัยปฏิบัติการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา.
Ugur-Erdogmus, F., and Cagiltay, K. (2019). Making novice instructional designers expert: Design and development of an electronic performance support system. Innovations in Education and Teaching International, 56(4), 470-480.
Marchand, G. C., and Hilpert, J. C. (2018). Design Considerations for Education Scholars Interested in Complex Systems Research. Complicity: An International. Journal of Complexity and Education, 15(1), 31-44.