พระแก้วมรกตที่ปรากฏในคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์
คำสำคัญ:
พระพุทธรูป, พระแก้วมรกต, ชินกาลมาลีปกรณ์บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเรื่องการสร้างพระพุทธรูปและสิ่งบูชาในพระพุทธศาสนา 2. เพื่อศึกษาการสร้างพระแก้วมรกต 3. เพื่อวิเคราะห์พระแก้วมรกตที่ปรากฏในคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ ผลการศึกษาพบว่า การสร้างพระพุทธรูปและสิ่งบูชาในพระพุทธศาสนา เริ่มต้นจากประวัติการสร้างพระพุทธรูป และพระพุทธรูปเป็นสัญลักษณ์สำคัญหนึ่งในสามของพระรัตนตรัย อันเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน การสร้างพระแก้วมรกต ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพระแก้วมรกตทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานทางโบราณคดี เช่น รัตนพิมพ์วงศ์ ตำนานพระแก้วมรกต พระรัตนปฏิมา หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ เป็นต้น
Downloads
References
ไขศรี ศรีอรุณ. (2546). พระพุทธรูปปางต่างๆ ในสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พุทธทาสภิกขุ. (2509). ภาพพุทธประวัติจากหินสลักยุคก่อนมีพระพุทธรูปในประเทศอินเดีย พ.ศ. 300-700. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ. (2546). พุทธปรัชญา: สาระและพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเครื่องตั้มศรีวิชัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: www.tumsrivichai.com. [15 ตุลาคม 2566].
รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (2553). พระพุทธปฏิมาสยาม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ปริ้นท์ติ้งแอนด์พับลิชชิง จำกัด.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2553). พระพุทธรูปในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
แสง มนวิทูร เปรียญ. (2501). ชินกาลมาลีปกรณ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมศิลปากร.
MGR Online. ย้อนรอยประวัติศาสตร์เกี่ยวกับพระแก้วมรกต. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://mgronline.com/travel/detail/9480000063448. [10 ตุลาคม 2566].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศรีสุวรรณภูมิปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.