พุทธวิธีเพื่อพัฒนาทักษะ 3Rs 8Cs ในศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
พุทธวิธี, พัฒนาทักษะ, 3Rs 8Cs, ศตวรรษที่ 21บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ตามหลัก 3Rs 8Cs ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประชากรนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ บุคลิกลักษณะ ศิลปวัฒนธรรมของคนไทย ล้วนได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา จึงควรมีการนำหลักธรรมคำสั่งสอนมาเป็นหลักในการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีจุดเน้นที่การพัฒนาจิต โดยพระพุทธศาสนานั้นได้ชื่อว่า เป็นศาสนาแห่งการพัฒนาจิตในหลากหลายระดับ เพื่อการหลุดพ้นจากทุกข์หรือปัญหาต่างๆ ในตัวบุคคลและปัญหาสังคม ผลจากการศึกษาพบว่า พุทธวิธีที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาทักษะ 3Rs 8Cs ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับทักษะชีวิตที่จำเป็น ได้แก่ อริยสัจ 4 ส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ปัญญา 3 ส่งเสริมทักษะการสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม อธิษฐานธรรม 4 ส่งเสริมทักษะการเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ พรหมวิหาร 4 ส่งเสริมทักษะความร่วมมือการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ กาลามสูตร พัฒนาทักษะการสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ โยนิโสมนสิการ พัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วัฒนมุข 6 พัฒนาทักษะการทำงาน การเรียนรู้ การพึ่งตนเอง สังคหวัตถุ 4 พัฒนาทักษะด้านคุณธรรม ความเมตตากรุณา เห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีระเบียบวินัย
Downloads
References
กองบรรณาธิการสำนักพิมพ์อักษร. โลกเก่า ไม่เก๋าพออีกต่อไป. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.aksorn.com/21st-century-skills [29 กรกฎาคม 2566].
คมสินธุ์ ต้นสีนนท์. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองทุมธานี จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จักรกฤษณ์ โพดาพล. (2559). ผู้บริหารกับพรหมวิหารธรรม. เอกสารประกอบคำบรรยาย. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านช้าง.
จิตศริณย์พร ปัญจวัฒนคุณ. (2561). อริยสัจ 4 กับวัยรุ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารปรัชญาปริทัศน์, 23(1): 1-15.
เจือจันทร์ จงสถิตอยู่. (2557). พลังความร่วมมือเพื่ออภิวัฒน์การเรียนรู้ในพื้นที่ ใน All for Education “จังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้”. กรุงเทพฯ: มาตาการพิมพ์.
คณะกรรมการเครือขายพลังเยาวชนเพื่อการปฏิรูป. ปฏิรูปการศึกษาไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://sornortikcm3.files.wordpress.com [27 กรกฎาคม 2566].
ทัศชล เทพกำปนาท. (2566). กาลามสูตร: หลักความเชื่อทางพุทธศาสนา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.culture.go.th/culture_th [29 กรกฎาคม 2566].
ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. มนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร. กรุงเทพฯ: อินฟอร์มีเดียบุ๊คส์.
ธนภรณ์ ตั้งเพชรศิริพงษ์และคณะ. (2565). การพัฒนาตนเองตามหลักโยนิโสมนสิการ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 9(1): 255-264.
นวรัตน์ ไวชมภู และคณะ. (2560). วิถีครองคน: พรหมวิหาร 4 สำหรับผู้บริหารการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 4(1): 105-113.
ปารินันท์ ปางทิพย์อำไพและคณะ. (2566). โยนิโสมนสิการ: พุทธวิธีการดำเนินชีวิตในสังคมออนไลน์. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 10(5): 268-277.
พระชัยยนต์ สิริปุญฺโญ. (2560). หลักอบายมุขในพระพุทธศาสนาเถรวาทเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 34. กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต).
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2530). ทางสายกลางของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). การศึกษาเพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2553). พุทธวิธีแก้ปัญหาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.
พระมหานพดล สิริวํโส. สังคหวัตถุ 4 และแนวทางในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.castool.com/2016/12/02/ [29 กรกฎาคม 2566].
พระนิติศาสตร์ ญาณิสฺฺสโร (สุภาโภชน์). (2558). การศึกษาเชิงวิเคราะห์ทานในสังคหวัตถุตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 4(2): 197-208.
พระยุทธพงษ์ อาภากโร และคณะ. (2563). การส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 เชิงพุทธบูรณาการ. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มจร. วิทยาเขตแพร่, 6(1): 59-73.
พระครูเมตตาสารคุณ. (2554). การศึกษาหลักอธิษฐานธรรมในการสร้างความมั่นคงของชีวิต. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภาวิช ทองโรจน์. 10 อาการที่ทำให้ต้องผ่าตัดใหญ่การศึกษาไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.jobpub.com/articles [27 กรกฎาคม 2566].
รังสี สุทนต์. ความรู้เรื่องอริยสัจ 4. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.mcu.ac.th/article/detail/14263 [29 กรกฎาคม 2566].
วลัยลักษณ์ คงพระจันทร์. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: อยู่รอดแม้จุดยืนมนุษย์สั่นคลอน ในโลกดิจิทัลที่ไม่ย้อนกลับหลัง. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/21st- centuryskills.html [29 กรกฎาคม 2566].
วิจารณ พานิช. (2555). วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศูนย์การเรียนรู้ Learning ConNext. ทักษะอะไรบ้างที่เด็กในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องมี. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.facebook.com/connext.co.th [29 กรกฎาคม 2566].
สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย. ปัญหาการศึกษาไทย นวัตกรรมและการวิจัยช่วยได้จริงหรือ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.disruptignite.com [27 กรกฎาคม 2566].
สมพจน์ พัดสุวรรณ. ธรรมะ 5 ข้อเพื่อการลงทุนอย่างมีความสุข. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.finnomena.com/wealthguru/5-dhamma-happyinvestment-4-5/ [29 กรกฎาคม 2566].
สมพงษ์ จิตระดับ. เด็กไทยใกล้เป็นโจร: ภาพชุดของเด็กไทยในอนาคต. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.sobkroo.com/articledetail.asp?id=13718 [27 กรกฎาคม 2566].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศรีสุวรรณภูมิปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.