เปรียบเทียบลักษณะพุทธศิลปะสมัยสุโขทัยกับพุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์

ผู้แต่ง

  • พระสุเทพ สุตธมฺโม นิสิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เปรียบเทียบลักษณะพุทธศิลปะ, สมัยสุโขทัย, สมัยรัตนโกสินทร์

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้ทำการศึกษาพุทธศิลปะสมัยสุโขทัยกับพุทธศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อวัตถุประสงค์ ในการเปรียบเทียบถึงความเหมือนและแตกต่าง รวมทั้งประวัติและความเป็นมาของทั้ง 2 ยุคสมัย อิทธิพลต่างๆ ที่ได้เข้ามามีบทบาทในการทำเกิดเป็นพุทธศิลปะในแขนงต่างๆ ล้วนแล้วแต่เป็นความสำคัญของพุทธศิลปะและคุณค่าของพุทธศิลปะของแต่ละยุคสมัยทั้งสิ้น

          พุทธศิลปะสมัยประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยกล่าวถึงพุทธศิลปะตั้งแต่สมัยล้านนา (เชียงแสน) สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยอู่ทอง ล่วงมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ การสร้างงานพุทธศิลปะไม่วาจะเป็นด้านสถาปัตยกรรมหรือประติมากรรมต่างๆ ขึ้นมาเป็นมรดกของชาติ สิ่งที่เป็นมูลเหตุที่สำคัญเกิดมาจากความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธสาสนาของพุทธศาสนิกชน พุทธศิลปะในยุคมัยต่างๆ นั้นมีอิทธิพลที่สืบต่อกันมาอาจจะมีลักษณะ วิธีการสร้าง วัตถุประสงค์ที่คล้ายกันหรือเหมือนกันอยู่บ้าง ซึ่งในแต่ละยุคสมัยได้มีการเปรียบเทียบถึงความเหมือนและแตกต่างกัน เพื่อเป็นการศึกษาความเป็นมาของพุทธศิลปะในแต่ละด้านของยุคนั้น

Downloads

Download data is not yet available.

References

จารุวรรณ พึ่งเทียร, ผศ.ดร. (2560). พุทธศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชาตรี ประกิตนนทการ. (2550). การเมืองและสังคมในศิลปะสถาปัตยกรรม สยามสมัยไทยประยุกต์ ชาตินิยม. กรุงเทพฯ: มติชน.

ชาตรี ประกิตนนทการ..(2556). ศิลปะ-สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1: แนวคิด คติสัญลักษณ์ และความหมายทางสังคม ยุคต้นรัตนโกสินทร์. วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 4(1).

ผู้จัดการออนไลน์. วัดนิเวศธรรมประวัติ วัดไทยสไตล์ฝรั่ง งามแปลกหนึ่งเดียวในไทย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://mgronline.com/travel/detail/9640000018059 [4 เมษายน 2561]

พระมหาสุรศักดิ์ สุรเมธี (ชะมารัมย์). (2555). ชำเลืองมองลักษณะพระพุทธรูปไทยสมัยต่างๆ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=7298&view=next&sid=1888acc1669471c70c8b9981caf3d22e [5 เมษายน 2566].

พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถร). (2558). ตำนานพระพุทธรูปปางต่างๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. เจดีย์แบบสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 37. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=37&chap=1&page=t37-1-infodetail06.html [5 เมษายน 2566].

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน.ประติมากรรมไทยสมัยสุโขทัย. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 14. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=14&chap=3&page=t14-3-infodetail03.html [5 เมษายน 2566].

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน..ประติมากรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. เล่มที่ 14. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=14&chap=3&page=t14-3-infodetail09.html [5 เมษายน 2566].

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2547). ทัศนศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: ปิรามิด.

ศักดิ์ชัย สายสิงค์. (2551). งานช่างสมัยพระนั่งเกล้าฯ. กรุงเทพฯ: มติชน

ศักดิ์ชัย สายสิงค์. (2563). พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

สันติ เล็กสุขุม. (2547). ตัวอย่างงานช่างในรัชกาลที่ 4: หันรีหันขวาง. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม. ฉบับเดือนตุลาคม 2547.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (2528). ศิลปะในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

02

Downloads

เผยแพร่แล้ว

22-12-2023