จริยศาสตร์กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ
คำสำคัญ:
จริยศาสตร์, การปฏิบัติหน้าที่, ข้าราชการตำรวจบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจริยศาสตร์กับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ จากการศึกษาพบว่า ประวัติการเกิดขึ้นของตำรวจเพื่อวัตถุประสงค์ให้ทำหน้าที่เพิ่มความสันติสุขและป้องกันทรัพย์สมบัติของอาณาประชาราษฎร์มีภารกิจรักษากฎหมายและดูแลความปลอดภัยของประชาชนและป้องกันเหตุร้ายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นทุกกรณี รวมถึงการเข้าขัดขวาง และปราบปรามอาชญากรรมทุกประเภททำให้การปฏิบัติหน้าที่จึงเกี่ยวข้องกับความผิด-ถูก ที่จะต้องอาศัยการตัดสินจึงจำเป็นจะต้องมีเกณฑ์ทางจริยศาสตร์เป็นแนวทาง ได้แก่ 1) แนวคิดประโยชน์นิยมที่มุ่งเน้นเอาเรื่องของประโยชน์สำหรับคนหมู่มากเป็นสำคัญ 2) แนวคิดหน้าที่นิยมที่มุ่งเน้นในเรื่องของกฎระเบียบของสังคมหรือกฎหมายที่ตราขึ้นเป็นหลักการที่สำคัญ 3) แนวคิดอัตถิภาวะนิยม เน้นเสรีภาพเลือกกระทำในสิ่งที่ดีไม่ผิดกฎระเบียบ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของสังคม และ 4) แนวคิดพุทธจริยศาสตร์จะเน้นเจตนาที่จะกระทำนั้นสำคัญที่สุด ถ้าเจตนาที่จะกระทำดีแล้วผลที่ตามมาก็ย่อมดีด้วยเช่นกัน
References
ชัชชัย คุ้มทวีพร, ผศ. (2541). จริยศาสตร์: ทฤษฎีและการวิเคราะห์ปัญหาจริยธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เจนเตอร์เพรส.
ชาย เสวิกุล. (2517). อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธีรบุล จัตตารีส์, พลตำรวจตรี. (2514). คู่มือตำรวจนครบาล. กรุงเทพฯ: พิมพ์ลักษณ์..
บุญมี แท่นแก้ว. (2550). จริยศาสตร์ (ETHICS). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ประยุทธ สิทธิพันธ์. (2519). พระมหากษัตริย์กับประวัติศาสตร์ตำรวจสยาม. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์.
วิทย์ วิศทเวทย์, ศ.ดร. (2532). จริยศาสตร์เบื้องต้นมนุษย์กับปัญหาจริยธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ”. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/องค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ. [14 กรกฎาคม 2566]
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “ตำรวจไทย”. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/ตำรวจไทย. [15 กรกฎาคม 2566]
ศูนย์ข้อมูลกลางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. “ศิลาจารึกภาษาไทย”. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.m-culture.in.th/album/171424/js/ [12 กรกฎาคม 2566]
W.W. & McLaren, R.C. (1973). Police administration. New York: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.