แนวทางการศึกษาบทบาทพระสังฆาธิการต่อการสื่อสารภาษาอังกฤษในยุคดิจิทัล
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และเพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ของพระสังฆาธิการในยุคดิจิทัล จากการศึกษาพบว่าบทบาทของพระสังฆาธิการในการสื่อสารภาษาอังกฤษ เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารที่ทันสมัย จะช่วยปิดช่องว่างต่อความเข้าใจในสังคมปัจจุบันและเป็นรากฐานสำหรับการศึกษาสังคมยุคดิจิทัล เพื่อตอบสนองการส่งสารและการเผ่ยแผ่ธรรมะให้ทันต่อสังคมรุ่นใหม่ เพราะสังคมยุคปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงด้วยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในทุกด้านของชีวิต พระสังฆ์ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการอยู่ร่วมกันในสังคมยุคดิจิทัลได้ ฉะนั้นการศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของพระสังฆาธิการจึงเป็นสิ่งจำเป็นและตามให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเปลี่ยนไปตลอดเวลา ดังนั้น การศึกษาแนวทางการศึกษาภาษาอังกฤษในยุคดิจิทัล จึงเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้พัฒนาด้านการสื่อสารของคณะสงฆ์ และส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา เป็นการพัฒนาชาติให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2552). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 - 2556. กรุงเทพมหานคร:สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
พระครูสุกิจจานุรักษ์ (ชยุตม์ อคฺควณฺโณ). (2561). การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ในจังหวัดสุพรรณบุรี. ในดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์. (2548). การเผยแผ่เชิงรุก. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคนสู่ประชาธิปไตย.กรุงเทพมหานคร: องค์การค้าคุรุสภา.
พระแสงจันทร์ ฐิตสาโร และคณะ. (2562). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนา. Journal of Graduate Saket Review, 4(1), 12-20.
พระมหาราชัน จิตฺตปาโล. (2561). แนวทางการพัฒนาภาษาอังกฤษของพระสงฆ์ไทยเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 14(3), 111-123
หทัยพร สายศรีโกศล. (2546). คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
สถาบันพระสังฆาธิการ. (2558). คู่มือพระสังฆาธิการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุจิณณา พานิชกุล. (2549). บทบาทของพระสงฆ์ต่อการท่องเที่ยว: กรณีศึกษากิจกรรมการสนทนาระหว่างพระสงฆ์กับนักท่องเที่ยว. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
มหาเถรสมาคม. (2538). ประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 83 ตอนที่ 3 (25 มีนาคม2538).วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 4(1), 13-19.
Barbara Oakley. (2014). A Mind for Numbers: How to Excel at Math and Science (Even If You Flunked Algebra). (The importance of deliberate practice, persistence, and a growth mindset in language learning), New York, USA :
Penguin Books.
Benny Lewis. (2021). Fluent in 3 Months: How Anyone at Any Age Can Learn to Speak
Any Language from Anywhere in the World. California. HarperCollins Publishers L.L.C.
Jacques Ellul. (1954). The Technological Society: (French: La Technique ou l'Enjeu du siècle). New York. USA. : Alfred A. Knopf, Inc.
Jim Sheffield. (2013). Globalization: Yesterday, Today, and Tomorrow. New York: Emergent Publications.
Marshall McLuhan.(1964).The medium is the message: Understanding Media: The Extensions of Man. Canada: McGraw-Hill.
Martin Heidegger.(1977). The Question Concerning Technology and Other Essays. New York & London : Garland Publishing, INC.
Paul Pimsleur.(1970). Pimsleur Comprehensive German. (This course is part of the Pimsleur language learning series, which focuses on teaching languages through audio-based lessons). New York, USA: Simon & Schuster.
Richard Simcott. (2021). A polyglot and language enthusiast. UK. [Online], from: https://www.youtube.com/watch?v=SAtWuQmdexs {2 มิถุนายน 2566}.
Sherry Turkle. (2011). Alone Together: Why We Expect More from Technology and Less from Each Other. New York. USA.: Basic Books.
Stephen Krashen. (1981). Second Language Acquisition and Second Language Learning. England : Oxford.
Ellen Bialystok. (2021). Bilingualism in Development: Language, Literacy, and Cognition. UK.: Cambridge University Press. Emergent Publications.
Gabriel Wyner. (2014).Fluent Forever: How to Learn Any Language Fast and Never
Forget It. New York, USA. : Harmony; NO-VALUE.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มจร สุรนารีสาร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.