การวิเคราะห์สาเหตุเชิงพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ของนิสิตหญิงระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์สาเหตุเชิงพฤติกรรม, พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์, ผู้หญิงบทคัดย่อ
This research aims to : To study factors conducive to additive factors related to behaviors, Study on alcoholic beverage behavior and study the relationship predisposing factors reinforcing to enabling factors and alcohol drinking habits, The samples used in this study were 373 female undergraduate students in a Phitsanulok university, Using questionnaires to collect and analyze data, Descriptive statistics were used for frequency, percentage, mean, standard deviation, By Chi-Square Pearson product moment correlation coefficient, The research found that Knowledge of alcoholic beverages was moderately (= 71.6), Purchasing was easy, moderately facilitating (= 21.3), The level of support was low (= 2.10). This is a moderate level of addiction (= 2.53), Alcohol consumption behavior at the moderate level (= 3.10), the correlation between the predisposing factors and the drinking behavior of alcoholic beverages was statistically significant at .01 and .05, The relationship between reinforcing factors was positively and positively correlated at .01 level, The relationship between Enabling factors and alcoholic beverage behaviors was found to be positively correlated. Statistically significant at .01 level , The causal factors related to drinking behavior of alcoholic beverage of female students, namely, personal factors and knowledge, were related to drinking behavior of alcoholic beverages. Purchasing and accessibility were correlated with alcohol drinking habits. and factors social support was correlated with alcohol drinking habits.
References
กรวรรณ บุษบง. (2557). พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตสุขศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิราภรณ์ เทพหนู. (2541). ปัจจัยที่มีผลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญศึกษา ในจังหวัดพัทลุง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ช่อแก้ว ร่มสุข, และขจรวรรณ อิฐรัตน์. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น เขตเทศบาลเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง, 5(1), 50-62.
เชริง. (2554). ผู้หญิงระวังแอลกอฮอล์. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2559, จาก http://healthtoday.net
นพดล กมลกลาง. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารศึกษาศาสตร์, 7(4), 156-162.
เบญจมาศ สุขศรีเพ็ง. (2551). แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2559, จาก https://www.gotoknow.org/posts/115421
ปรียาพร ศุภษร. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปวีณา วงษ์ชะอุ่ม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตภาคปกติมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. สืบค้น 20 เมษายน 2560, จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th
เผ่าพงศ์ สุนทร. (2556). ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของนักเรียนมัธยม ในอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 9(1), 37-50. สืบค้น 20 เมษายน 2560, จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/LPHJ/article/view/190227
พิษนุ อภิสมาจารโยธิน. (2559). การจัดการชีวิตของแม่เลี้ยงเดี่ยวสตรีเยาวชนและครอบครัว. พิษณุโลก: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศรีรัช ลาภใหญ่. (2549). การพัฒนาองค์ความรู้มาตรการทางสังคมและปัจจัยแวดล้อมในสถานศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาการดื่มสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา.
ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2558). เพศหญิงมีปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบจากการดื่มแอลกอฮอล์ต่างจากเพศชาย. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559, จาก http://cas.or.th/knowledge.
สนาม บินชัย. (2553). กลุ่มปัญหา:ปัญหายาเสพติด. สืบค้น 24 กรกฎาคม 2559, จาก https://www.suicidethai.com/1667/1667view.asp?id=3217
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2558). รายงานสถิติจำนวนนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีการศึกษา 2558. พิษณุโลก: กองบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร.
อรทัย วลีวงศ์, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, และทักษพล ธรรมรังสี. (2553). บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ที่มีต่อผลการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย. สืบค้น 21 กันยายน 2559, จาก http://ihppthaigov.net
Daniel, W. W. (1999). Biostatistics: A foundation for analysis in the health sciences. New York: Wiley.