การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีความสัมพันธ์กับการได้รับความรุนแรงทางด้านร่างกายของสตรีในจังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • สุขพัชรมณี กันแต่ง คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000
  • พิษนุ อภิสมาจารโยธิน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000

คำสำคัญ:

ความรุนแรง, ความรุนแรงด้านร่างกาย, สตรี

บทคัดย่อ

The research aims to 1) study the characteristics of the physical violence of women, 2) study PRECEDE framework related to physical violence, 3) study the relationship between PRECEDE framework and physical violence patterns of women. This research is a quantitative method. Data were collected by questionnaires with 384 women aged 20 years and over. The data analyzed by using statistical of frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The results found that the samples had received physical violence at a moderate level (gif.latex?\bar{X}= 2.91), had physical violence perceptions at extreme level (gif.latex?\bar{X}= 4.56), had ability to manage violence at a high level (gif.latex?\bar{X} = 3.50), had power relations at a low level (gif.latex?\bar{X} = 2.30), accesed to the supporting sector at a high level (gif.latex?\bar{X}= 3.56), had social support from family, friends, community, and personnel or related sector at a high level (gif.latex?\bar{X}= 3.73) . The power relations were positive relatied to female’s physical violence (r = 0.220, P < 0.01), social support and ability to manage violence were negative relatied to female’s physical violence (r = -0.026 และ -0.100, P < 0.01)

References

กรมการปกครอง. (2559). สถิติประชากรเพศหญิงในจังหวัดพิษณุโลก 2558. สืบค้น 26 กันยายน 2559, จาก http://www.stat.dopa.go.th

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว. (2559). สถิติจำนวนคดีความรุนแรงในครอบครัว, ผู้กระทำ, ผู้ถูกกระทำ จำแนกตามประเภทความรุนแรงแบบรายปี 2559. สืบค้น 2 ธันวาคม 2559, จาก http://www.violence.in.th/violence/report/violence/report

จงจิตต์ โสภณคณาภรณ์. (2553). ความรุนแรงต่อสตรี. วารสารรามคำแหง, 27(2), 85-95.

จะเด็จ เชาวน์วิไล. (2558). เผยสถิติหญิงไทย ถูกทำร้ายร่างกายมากขึ้น. สืบค้น 11 มกราคม 2560, จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/678270

ธัญญาลักษณ์ โกนกระโทก. (2553). การปรับตัวของสตรีต่อความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนแออัดกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

นภาภรณ์ หะวานนท์. (2555). คำให้การของผู้หญิงที่ถูกสามีทำร้าย. กรุงเทพฯ: สำนักกิจการในพระราชดำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

นันทนา ธนาโนวรรณ, และภัสรา หากุหลาบ. (2550). ผลของความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในขณะตั้งครรภ์ต่อความเครียด การสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 25(1), 47-61.

นิจนันท์ มั่นจริง. (2551). การเปิดรับสื่อ ความรู้ และการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาความความรุนแรงต่อสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นูรไลลาห์ หลังปูเต๊ะ, และเกษตรชัย และหีม. (2557). ภูมิหลังทางครอบครัวคู่สมรสมุสลิมที่มีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดสตูล. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 28(3), 190-213.

ปพนธีร์ ธีระพันธ์. (2559). ความรุนแรงในครอบครัวในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาฝั่งตะวันตก. วารสารปาริชาต, 29(2), 155-168.

พิษนุ อภิสมาจารโยธิน. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตามยุทธศาสตร์เมืองไทยแข็งแรงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยในจังหวัดนครปฐม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พิษนุ อภิสมาจารโยธิน. (2560). เรื่องเพศกับการแพทย์ : อนามัยการเจริญพันธุ์ในมิติของสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

ภาวิณี นิลน้ำค้าง. (2554). การศึกษาแบบแผนพฤติกรรมการกระทำรุนแรงในครอบครัว กรณีสามีทำร้ายร่างกายภรรยา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เย็นจิตร ถิ่นขาม. (2556). สตรีนิยม (Feminism). สืบค้น 14 มกราคม2560, จาก https://www.gotoknow.org/posts/357827.

วชิระ เพ็งจันทร์. (2557). อึ้ง! สถิติเด็ก-สตรีไทยถูกทำร้ายเฉลี่ยวันละ 87 คน!. สืบค้น 10 มกราคม 2560, จาก http://www.thairath.co.th/content/440681

วอยซ์ทีวี. (2557). หญิงไทย 4 ใน 10 คน เคยถูกทำร้าย/คุกคามทางเพศ. สืบค้น 10 มกราคม 2560, จาก http://news.voicetv.co.th/global/112392.html

ศุทธินี ปิยะสุวรรณ์. (2545). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของสตรีสมรสต่อพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของสามี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2552). หยุดรุนแรงต่อเด็ก-สตรี รู้สิทธิมนุษยชน. สืบค้น 10 มกราคม 2560, จาก http://www.Thaihealth.or.th/Content/18989

สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2554). รายงานข้อมูลและตัวชี้วัดด้านความรุนแรงในผู้หญิงและเด็กหญิง. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

หทัยรัตน์ มาประณีต. (2554). การศึกษาทัศนคติด้านความรุนแรงต่อสตรีของสตรีในชุมชนเมือง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 3(6), 163-177.

Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Nj: Lawrence Erlbaum.

Hall, Jeffrey E., Walters, Mikel L., & Basile, Kathleen C. (2011). Intimate partner violence perpetration by court-ordered men : distinctions among subtypes of physical violence, sexual violence, psychological abuse, and stalking. Journal of Interpersonal Violence, 27(7), 1374-1395.

Krejcie, V., & Morgan, W. (1970). De terming sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.

Green, Lawrence W. & Krueter, Marshall. (1999). THE PRECEDE/PROCEED MODEL. Retrieved December 6, 2016, from http://www.infosihat.gov.my/infosihat/artikelHP/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-06

ฉบับ

บท

บทความวิจัยหรือบทความวิทยานิพนธ์