การศึกษาแนวคิดพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อการเลือกใช้ Mobile Application 7-Eleven ในการจ่ายสินค้าแทนการใช้เงินสด
คำสำคัญ:
การจ่ายสินค้าแทนการใช้เงินสด, พฤติกรรมของผู้บริโภค, แอพพลิเคชั่น 7-Elevenบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดพฤติกรรมของผู้บริโภคต่อการเลือกใช้ Mobile Application 7-Eleven ในการจ่ายสินค้าแทนการใช้เงินสด ผู้บริโภคมักให้ความสำคัญกับความสะดวกสบายและความปลอดภัยของการใช้แอพพลิเคชันนี้ สื่อสังคมและสถานการณ์เศรษฐกิจมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมผู้บริโภคให้ใช้แอพพลิเคชันนี้ด้วย ผลการศึกษาที่พบว่าผู้บริโภคมักมีระดับความพึงพอใจในการใช้ App 7-Eleven ในการจ่ายสินค้า เนื่องจากความสะดวกสบาย ความปลอดภัย โปรโมชั่น และระบบสะสมคะแนนที่มีในการทำธุรกรรม อีกทั้งยังมีปัจจัยทางสังคมและการส่งเสริมที่เข้ามาเสริมให้ผู้บริโภคใช้ Mobile Application 7-Eleven อย่างแพร่หลายมากขึ้น บทความวิชาการนี้เป็นประโยชน์ให้กับผู้ประกอบการในการสร้างปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ให้แก่ผู้บริโภคได้แก่ ด้านความสะดวก ด้านความปลอดภัย โปรโมชั่น และระบบสะสมคะแนน เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างเหมาะสม โดยยึดมุมมองที่ผู้บริโภคเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาสินค้าและบริการในยุคดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตของสรรพสินค้าและบริการในปัจจุบัน
References
ครูเชียงราย. (2555). ความหมายของกรอบแนวคิดในการวิจัยและวิธีการเขียนเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด สืบค้นจาก https://www.kruchiangrai.net/2022/02/27/กรอบแนวคิดการวิจัย/
จุฑามาศ สอนชัย. (2566). การศึกษากรอบแนวคิดปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการเดลิเวอรี่
ผ่านแอป พลิเคชันเซเว่นอีเลฟเว่น. ใน รายงานการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ครั้งที่ 14 (น. 1-11). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสุรินทร์.
ชนิลทร ชูรัตน์. (2561). พฤติกรรมและความพึงพอใจในการใช้ชีวิตแบบสังคมไร้เงินสดของพนักงานบริษัท
ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (ค้นค้าอิสระคณะบริหารธุรกิจ) สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสงขลา: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ติณณมินทร์ สุขสมัย และ เกียรติศักดิ์ สมัครสมาน. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีแอปพลิเคชันสั่งและส่ง อาหารของลูกค้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารวิชาการการจัดการ ภาครัฐและเอกชน, 1(2), 1-10.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2543). พรหมแดนความรู้ด้านการวิจัยและสถิติ. รวมบทความทางวิชาการของ ดร.นงลักษณ์วิรัชชัย. (หน่วยที่ 4, น.162). ชลบุรี : วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุษยมาส ชื่นเย็น. (2567). พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยด้านการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของกลุ่มเจเนอเรชั่นวายในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารศิลปะการจัดการ, 8(1), 1-20
ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร.
ยุวดี ฦาชา และคณะ. (2532). วิจัยทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: วิคตอรี เพาเวอร์พ้อยจำกัด.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2535). การกำหนดตัวแปรในการวิจัย ในรวมบทความทางวิธีวิทยาการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิงหะ ฉวีสุข และ สุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศลาดกระบัง, 1(1), 1-21.
สิทธิชัย ภูษาแก้ว. (2560). ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการ Grab ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ปทุมธานี). สืบค้นจาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/3353/1/sitthichai_phus.pdf
สิรินทิพย์ เดชก้องไกล, (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้บริการระบบพร้อมเพย์ของธนาคารกสิกรไทยในเขต กรุงเทพและปริมณฑล (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี). สืบค้นจาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5902030468_7964_6704.pdf
สุวรรณา ธุรโชติ, (2541). วิธีวิจัยทางสหกรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์.
Bank of Thailand. (2021). Thailand payment system report 2021. Bangkok, Thailand: Bank of Thailand.
Bano, M., & Zowghi, D. (2015). A systematic review on the relationship between user involvement and system success. Information and Software Technology, 58, 148–169. https://doi.org/10.1016/j.infsof.2014.06.011
Chauhan, S., Jaiswal, M., & Singh, S. (2020). Understanding the adoption of mobile wallets in India: Extending the TAM model. Journal of Indian Business Research, 12(3), 20–35.
Chen, Y., Lu, X., & Luo, L. (2019). Mobile payment adoption: Empirical evidence from emerging market consumers. Computers in Human Behavior, 95, 13–22. https://doi.org/10.1016/j.chb.2018.12.028
Choi, H., & Lee, H. (2019). Factors affecting user satisfaction and usage intention in mobile shopping applications. Journal of Retailing and Consumer Services, 49, 9–18. https://doi.org/10.1016/j.jretconser.2019.03.012
Davis, F, Bagozza, R. P, & Warshaw, P. R. (1989). User acceptance of computer technology: A comparison of two theoretical models. Management Science, 35(8), 982-1003.
Davis, F. D. (1989). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13(3), 319–340. https://doi.org/10.2307/249008
Gefen, D., Karahanna, E., & Straub, D. W. (2003). Trust and TAM in online shopping: An integrated model. MIS Quarterly, 27(1), 51–90. https://doi.org/10.2307/30036519
Hennings. (2010). The influence of consumers’ risk attitudes and behavior on the adoptionof online banking services. Journal of marketing trends, 1, 7-10.
KPMG. (2022). Digital payments in Southeast Asia: Security and trust issues. Bangkok, Thailand: KPMG.
National Innovation Agency. (2022). Digital transformation in Thailand: Opportunities and challenges. Bangkok, Thailand: National Innovation Agency.
Oliver, R. L. (1980). A cognitive model of the antecedents and consequences of satisfaction decisions. Journal of Marketing Research, 17(4), 460–469.
PwC Thailand. (2021). Consumer behavior in the post-COVID-19 era. Bangkok, Thailand: PwC.
Venkatesh, V., & Davis, F. D. (2000). A theoretical extension of the technology acceptance model: Four longitudinal field studies. Management Science, 46(2), 186–204. https://doi.org/10.1287/mnsc.46.2.186.11926
Wiersma. (2000). Research Methods in Education: An Introduction. (6th ed). Massachusetts: Allyn & Bacon A Simmon and schuster Company.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.