แนวคิดจริยศาสตร์เชิงมนุษยนิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท
คำสำคัญ:
จริยศาสตร์, มนุษยนิยม, พุทธปรัชญาบทคัดย่อ
จริยศาสตร์เป็นศาสตร์ว่าด้วยการกระทำหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของมนุษย์ โดยถือว่า การกระทำหรือพฤติกรรมนั้น เป็นเกณฑ์ตัดสินความเป็นมนุษย์ที่มีคุณค่า จริยศาสตร์แบบมนุษยนิยมมุ่งเน้นให้ความสำคัญแก่กายและจิตอย่างเท่าเทียมกันตามเป็นจริงหรือความต้องการของทั้งสอง ในบทความนี้ กล่าวถึงนัยสำคัญแห่งความเป็นจริยศาสตร์เชิงมนุษยนิยมในพุทธปรัชญา พบว่า ในพุทธปรัชญานั้น มีแนวคิดคำสอนเกี่ยวกับมนุษย์ว่า มีองค์ประกอบสำคัญสองประการคือ รูปกับนาม หรือ กายกับจิต โดยใช้คำว่า ขันธ์ห้า ในการสื่อความหมายแห่งความเป็นมนุษย์ ทั้งนี้ นัยความหมายแห่งความเป็นมนุษย์มิได้มีเฉพาะด้านรูปกายภายนอกเท่านั้น หากแต่ยังมีนัยความหมายด้านจิตใจ ดังความหมายของคำว่ามนุษย์ที่ว่า เป็นผู้มีใจสูงด้วยคุณธรรม อาทิ ความมีสติ ความกล้าหาญ ความขยันหมั่นเพียร จึงได้วางเป้าหมายและวิธีการสู่เป้าหมายไว้สองระดับ ได้แก่ ระดับโลกิยะและระดับโลกุตระ เพื่อให้มนุษย์เลือกสรรให้เหมาะสมกับตนเอง
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2546). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับสยามรัฐ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). มงฺคลตฺถทีปนี. ปฐโม ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). มงฺคลตฺถทีปนี. ทุติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เดือน คำดี. (2534) พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
ปรุตม์ บุญศรีตัน. (2556). พุทธอภิปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรุตม์ บุญศรีตัน (2564). หลักพุทธจริยศาสตร์. เชียงใหม่: โพธิปัณณ์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์.
วัชระ งามจิตรเจริญ. (2561). พุทธศาสนาเถรวาท, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ธรรมศาสตร์.
William F. Lawhead. (2010). The Philosophical Journey: An Interactive Approach. fifth edition. New York: McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารพระธรรมทูต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The Journal of Dhammaduta | ISSN: xxxx-xxxx (online) | Responsible editors: Dr.Phramaha Prayoon Jotivaro. | This journal is published under the terms of the Creative Commons Attribution 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) by Dhammaduta College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University - 79 Moo 1, Lamsai, Wang Noi, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13170 Thailand