ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน : สิ่งที่ท้าทายผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ผู้บริหารท้องถิ่นบทคัดย่อ
ความเจริญของเทคโนโลยีการสื่อสารในสภาพการณ์ปัจจุบัน ได้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้หน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ต้องปรับตัวให้ทันต่อสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะบทบาทของผู้นำองค์กรที่จะต้องมีภาวะผู้นำที่ต่างจากรูปแบบเดิม ๆ ในที่นี่คือ ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งบทความนี้มุ่งหวังให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้เปิดรับมุมมองใหม่ที่จะมาเสริมสร้างภาวะการเป็นผู้นำการปรับเปลี่ยนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้กำหนดทิศทางใหม่ในการบริหารงานอย่างมีคุณภาพ โดยมีโจทย์ความท้าทาย 4 ประการ คือ การปรับความคิด สร้างการสื่อสารที่ชัดเจนและเน้นการมีส่วนร่วม ใส่ใจในการทำความเข้าใจกับทีมงาน และสร้างพฤติกรรมที่ดีเป็นแบบอย่าง
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2559). การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติใหม่ในอนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ฐิติกร พูลภัทรชีวิน. (2560). ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ และก็ไม่จำเป็นต้องสมบูรณ์แบบ. สืบค้น 28 เมษายน 2566 จาก https://www.workingtribes.com/ post/nobodyperfect
ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2557). การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 (เพื่อ ความสุข (ใจ) ในการทำงาน). สืบค้น 28 เมษายน 2566 จาก https://shorturl.asia/YJijw
ดาวนภา เกตุทอง. (2563). การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองท้องถิ่น. วารสาร มจร เพชรบุรีปริทรรศน์, 3(2), 46-57.
นวรัตน์วดี ชินอัครวัฒน์. (2563). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2566). ทักษะผู้นำในการประเมินผลกระทบของสภาพแวดล้อมและปรับมาตรการแก้ไขให้สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลง. สืบค้น 28 เมษายน 2566 จาก https://drpiyanan.com/2023/04/13/adaptive-leadership/
พิชญ์ณิฐา พรรณศิลป์ และคณะ. (2558). บทบาทของผู้บริหารท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 3(2), 146-161.
พวงชมพู โจนส์. (2559). การสร้างกระบวนการทางความคิด (Mindset) สำหรับบุคลากร
ในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(1), 1-9.
ฤทธิรงค์ เกาฏีระ และคณะ. (2558). ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมองค์กรกับระดับความสุขของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดกำแพงเพชร. (รายงานการวิจัย). กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2552). ภาวะผู้นำกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ส เจริญ การพิมพ์.
Bradberry, T., & Greaves, J. (2012). Leadership 2.0: Learn the secrets of adaptive leadership. San Diego, CA: Talent Smart
Cojocar, B. (2009). Adaptive leadership: Leadership theory or theoretical derivative? Journal of Academic Leadership, 7(1), 1–7 .
Hogan, T. J. (2008). The adaptive leadership maturity model. Organization Development Journal, 26(1), 55–61.
Thomas, R. J. (2008). Crucibles of leadership: How to learn from experience to become a great leader. Boston, MA: Harvard Business Press.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารพระธรรมทูต

This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
The Journal of Dhammaduta | ISSN: xxxx-xxxx (online) | Responsible editors: Dr.Phramaha Prayoon Jotivaro. | This journal is published under the terms of the Creative Commons Attribution 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) by Dhammaduta College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University - 79 Moo 1, Lamsai, Wang Noi, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13170 Thailand