การพัฒนาการเมืองกับการตื่นตัวของประชาชนในการเลือกตั้ง

ผู้แต่ง

  • พระพรชัย สารสุวรรณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การพัฒนาการเมือง, การตื่นตัวทางการเมือง, การเลือกตั้ง

บทคัดย่อ

บทความนี้เพื่อศึกษาการพัฒนาการเมืองกับการตื่นตัวทางการเมืองในการเลือกตั้ง การพัฒนาการเมืองในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า การเมืองแบบใหม่ ที่มุ้งเน้นประชาชนเป็นสำคัญ และการตื่นตัวในการเลือกตั้งครั้งนี้จะเป็นบทบาทสำคัญในการชี้ให้เห็นว่าการเลือกตั้งจะมุ่งสู้ยุคคนรุ่นเก่า หรือยุคคนรุ่นใหม่ ที่จะเข้ามาบริหารประเทศ การพัฒนาทางการเมืองที่มีประสิทธิภาพจะมีปัจจัยที่สำคัญหลายอย่างที่ทำให้การเมืองมีการพัฒนา การเมืองเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงให้เป็นสมัยใหม่ และที่สำคัญในการเลือกตั้งครั้งนี้จะเป็นชัยชนะของฝ่ายประชาธิปไตยหรือฝ่ายเผด็จการ

References

ชำนาญ จันทร์เรือง. (2560). เมื่ออำนาจรัฐใช้การไม่ได้. กรุงเทพมหานคร : ประชาไท.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2558). ทิศทางการปฏิรูปการเมือง : ทางออกหรือทางตัน. กรุงเทพมหานคร : ประชาไท.

โชคชัย ศรีรักษา. การตื่นตัวทางการเมืองของเยาวชนในระบอบประชาธิปไตย. (วารสาร มจร. เพชรบุรีปริทรรศน์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565).

ธโสธร ตู้ทองคำ. (1981). Democracy at the Polls: A. Comprrhenslve Study of Competitive National Election. (Aei Press).

ธวัช เบญจาธิกุล. (2529). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้ามามีส่วนร่วมของชาวนาในการพัฒนา : หมู่บ้านชาวเขาชนะเลิศการประกวดหมู่บ้านพัฒนาตัวอย่างของศูนย์พัฒนา และสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2527. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมสงเคราะห์. คณะสังคมสงเคราะห์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. (2542). การเลือกตั้งและพรรคการเมือง. กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายการศึกษา.

พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2527). การเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2526. กรุงเทพมหานคร : เจ้าพระยาการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรแห่งราชอาณาจักรไทย. (2557). การพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร : สำนักการพิมพ์.

สุจิต บุญบงการ. (2531). การพัฒนาการเมืองไทย : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. (กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2539). ทัศนคติทางการเมืองของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โครงการเอกสารและตำรา คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุมาลี บุญเรือง. (2564). การพัฒนาการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่มีผลต่อการเลือกตั้งทั่วไป. (ดุษฎีนิพนธ์ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Converse. P. (2000). The Nature (Ed). Ldeology and Discontent. New York : The Free Press.

Pye. Lucian W. (1966). Communication and Political Development. Princeton : Princeton University press.

Samuel Huntington. (1971). The Change to Change : Modernization. Development and Politics. Compaative Politics.3(3).

Zaller.John R. (1992). The Nature and Origins of Mass Opinion. New York : Cambridge University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-17

How to Cite

สารสุวรรณ์ พ. (2023). การพัฒนาการเมืองกับการตื่นตัวของประชาชนในการเลือกตั้ง. วารสารพระธรรมทูต, 3(1), 12–21. สืบค้น จาก https://so14.tci-thaijo.org/index.php/Dhammaduta/article/view/480