ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมการบินของนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบินและการขนส่ง วิทยาลัยการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต
คำสำคัญ:
การประกอบอาชีพ , การบิน, พฤติกรรมบทคัดย่อ
จากการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการเรียน การเลือกสาขาวิชา และการเลือกสถานที่ฝึกงานของนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจการบินและการขนส่ง วิทยาลัยการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา 2) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อแนวทางการเลือกประกอบอาชีพในอนาคตด้านอุตสาหกรรมการบินของนักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจการบิน และการขนส่ง วิทยาลัยการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลในรูปแบบของแบบสอบถามทั้งหมด 131 ฉบับ และทำการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน และการขนส่ง วิทยาลัยการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 131 คน เป็นเพศชาย 54 คน เป็นเพศหญิง 70 คน และเป็น LGBTQ+ 7 คน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยอายุ 20.48 ปี โดยมีอายุน้อยที่สุด 18 ปี และมีอายุมากที่สุด 25 ปี กำลังศึกษาในระดับชั้นปีที่ 1-4 ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยในการเลือกประกอบอาชีพด้านอุตสาหกรรมการบินอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก
References
กองวิจัยตลาดแรงงาน. (2557). รายงานผลการวิจัย เรื่องแนวโน้มอาชีพอิสระในอนาคต 3 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2558-2560). การวิจัย, กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ชมพูนุท ศรีพงษ์. (2550). กลยุทธ์การเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 139-149
ณัฐกานต์ สิงห์ทองสุข. (2559). เรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท การบินไทย จำกัด(มหาชน) สำนักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
นิปัทม์ พิชญโยธิน.(2551). โมเดลการวัดโปร์ไฟล์การตัดสินใจเลือกอาชีพและผลต่อพัฒนาการทางอาชีพของ ผู้ใหญ่ตอนต้น : การพัฒนาและการตรวจสอบความตรงของโมเดลแข่งขัน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ คณะจิตวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพลิน บรรพโต. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการเลือกประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมบริการของนักศึกษา สาขาการจัดการการโรงแรม ระดับชั้นปริญญาตรี ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ธิติพร มิลินทร์ คริสเตนเซนต์ ศุภิสรา ทองจรูญ และกฤษณ์ วิทวัสสำราญกุล. (2564). สมรรถนะการปฏิบัติงานของพนักงานสายการบิน กรณีศึกษาบัณฑิตสาขาธุรกิจการบิน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “วิถีใหม่ในสังคมที่เปลี่ยนแปลง” มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, ปทุมธานี
ธีรยุทธ แก้วเกร็ด. (2560). การตัดสินใจเลือกอาชีพของพนักงานองค์กรเอกชนในจังหวัดนครปฐม. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ธีระพงศ์ พึ่งแสง. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกทำงานกับองค์กรด้านการบินของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี สถาบันการบินพลเรือน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชราภรณ์ โภคาพานิชย์.(2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกอาชีพของ นักศึกษาโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต MLW 12 และ VLT 15/1วิชาเอกการบัญชีคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศุภมาส เพชรพรหม. (2550). แอร์โฮสเตส: กระบวนการเข้าสู่อาชีพ การดำเนินชีวิตการทำงานและการจัดการอารมณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญมหาบัณฑิต, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิริพร เจริญศรีวิริยะกุล. (2559). การศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจเลือกสถานประกอบการ. ใน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศศิธร นวมมณีรัตน์. (2561). เรื่ององค์ประกอบที่ส่งผลต่อการทำงานของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินชาวไทยในสายการบินตะวันออกกลาง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, สถาบันการบินพลเรือน สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Allport, G. W. (1961). Pattern and growth in personality. New York : Rinehart and Winston.
Bootzin, R.R., Bower, G.H., Croker, J., & Hall, E. (1991). Psychology today: An Introduction (7th ed.). New York: Von Hoffmann Press, Inc
McClelland, D.C. 1985. How motive, skills, and values determine what people do. American Psychologist, 40(70), 812-825.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.